เข้าใจและเห็นคุณค่า
“ลาย” ที่เชื่อมโยงกับวัฒนธรรมและสัมพันธ์กับวิถีการดำเนินชีวิตของคนในอดีตจนถึงปัจจุบัน
ตลอดจนวิถีชีวิตของคนในแต่ละท้องถิ่น อีกทั้งสามารถนำลายต่างๆ
มาปรับใช้และสร้างสรรค์เป็นชิ้นงานที่สื่อถึงตนเองได้อย่างเหมาะสม
PBL ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 Q1/2559 | หน่วย: Time ลายร้อยเรื่องราว
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาบูรณาการ (Problem Based Learning) โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา © 2016 Lamplaimat Pattana School
Mian
Mind Mapping
Web Ling
คำถามหลัก (Big Question) :
ลายมีความเกี่ยวข้องและสัมพันธ์กับวิถีการดำเนินชีวิตของคนในอดีตจนถึงปัจจุบันอย่างไร?
ลายมีความเกี่ยวข้องและสัมพันธ์กับวิถีการดำเนินชีวิตของคนในอดีตจนถึงปัจจุบันอย่างไร?
ภูมิหลังของปัญหา :
เมื่ออิทธิพลทางเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาแทนที่สังคมเก่าของไทย
โดยเฉพาะอย่างยิ่งโลกแห่งการสื่อสารได้ก้าวไปล้ำยุคมาก
จนเกิดความแตกต่างอย่างเห็นได้ชัด ทำให้คนเราลืมตัวเราเองมากขึ้น
จนกลายเป็นสิ่งสับสนอยู่กับสังคมใหม่อย่างไม่รู้ตัว
และความรีบเร่งรวดเร็วในการดำรงชีวิตทำให้หลงลืมคุณค่าความงดงามความเป็นอัตลักษณ์ของท้องถิ่น
ความแตกต่างของกลุ่มชน รากเหง้าของตนเองความเป็นชุมชนและความเป็นกลุ่มคณะหายไป
เมื่อเราหันกลับมามองตัวเราเองใหม่
ทำให้ดูห่างไกลเกินกว่าจะกลับมาเรียนรู้ว่า พื้นฐานของชาติบ้านเมืองเดิมเรานั้น
มีความเป็นมาหรือมีวัฒนธรรมอย่างไร ความรู้สึกเช่นนี้ ทำให้เราลืมมองอดีตตัวเอง
ลายจึงเป็นเสมือนการค้นหาอดีต ดังนั้นจึงเป็นเรื่องที่น่าสนใจต่อการเรียนรู้
เพื่อให้นักเรียนได้มองเห็นถึง ความสำคัญของบรรพบุรุษ ผู้สร้างสรรค์ลาย ศิลปะไทย
ให้เราทำหน้าที่สืบสานต่อไปในอนาคต และนำไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อไป
ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสาระการเรียนรู้กับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดแต่ละกลุ่มสาระ
หน่วย : Time ลายร้อยเรื่องราว ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ Quarter๑ ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๕๙
สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคม
ประวัติศาสตร์
หน้าที่พลเมือง
สุขศึกษา
ศิลปศึกษา
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สร้างฉันทะ/วางแผนการเรียนรู้
- สร้างแรงบันดาลใจ
- เรื่องที่อยากเรียนรู้
- เลือกหัวข้อหน่อยการเรียนรู้
- สิ่งที่รู้แล้ว
- สิ่งที่อยากเรียนรู้
- ปฏิทินการเรียนรู้
- Mind mappingก่อนเรียน
มาตรฐาน ว ๑.๒
-อภิปรายลักษณะต่างๆ ของลวดลาย (ป.๓/๑)
- เปรียบเทียบและระบุลักษณะที่คล้าย
คลึงกันของลวดลาย
(ป.๓/๒)
- สืบค้นข้อมูลและอภิปรายเกี่ยวกับการสร้างสรรค์ลวดลายจากอดีตจนถึงปัจจุบัน(ป.๓/๔)
มาตรฐาน ว ๒.๑
- สำรวจสิ่งแวดล้อม
ในท้องถิ่นของตนและอธิบายความสัมพันธ์ของการสร้างสรรค์ลวดลายต่างๆ
(ป.๓/๑)
มาตรฐาน ส ๑.๑
- อธิบายความสำคัญของลวดลายต่างๆ
-บอกความหมาย
ความสำคัญของลวดลายต่างๆ
(ป.๓/๔)
มาตรฐาน ส ๒.๑
อธิบายความสำคัญของลวดลายต่างๆได้
(ป.๓/๓)
มาตรฐาน ส ๒.๒
วิเคราะห์ความแตก
ต่างของกระบวนการทำลวดลายของแต่ละภูมิภาค(ป.๓/๒)
มาตรฐาน ส ๓.๒
บอกความสำคัญของลวดลายของแต่ละ
มาตรฐาน ส ๔.๑
-สืบค้นความเป็นมาของท้องถิ่นโดยใช้หลักฐานที่หลาก
หลาย (ป.๕/๑)
-รวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆ
เพื่อตอบคำถามทางประวัติศาสตร์อย่างมีเหเตุผล(ป.๕/๑)
มาตรฐาน ส ๒.๑
- สรุปประโยชน์และปฏิบัติตนตามประ
เพณีและวัฒนธรรมในครอบครัวและท้องถิ่น(ป.๓/๑)
- บอกพฤติกรรม
การดำเนินชีวิตของตนเองและผู้อื่นที่อยู่ในกระแสวัฒนธรรม
ที่หลากหลาย
(ป.๓/๒)
-อธิบายความแตก
ต่างทางวัฒนธรรมของกลุ่มคนในท้องถิ่น
(ป.๔/๔)
จุดเน้นที่๑
เห็นคุณค่าของภูมิปัญญาท้องถิ่น
(ป.๓/๓)
มาตรฐาน พ ๑.๑
อธิบายลักษณะและ
วิวัฒนการในการสร้างสรรค์ลวดลาย
ท้องถิ่น(ป.๓/๑)
มาตรฐาน พ ๒.๑
-อธิบายความ
สำคัญและความแตกต่างของลวดลายแต่ละภาคได้ (ป.๓/๑)
- อธิบายวิธีสร้างสร้างสรรค์เครื่องมือในการดิษฐ์ลวดลายต่างๆ
(ป.๓/๒)
มาตรฐาน ศ ๑.๑
-บรรยายรูปร่างรูปทรง ในธรรมชาติสิ่งแวด
ล้อมและงานทัศนศิลป์เกี่ยวกับลวดลายต่างๆ
(ป.๓/๑)
- ระบุวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้สร้างผลงานลวดลาย
(ป.๓/๒)
- วาดภาพ
ระบายสีสิ่งของรอบตัวให้เกิดลวดลาย (ป.๓/๓)
- มีทักษะพื้นฐาน ในการใช้วัสดุ
อุปกรณ์สร้างสรรค์งานลวดลาย
(ป.๓/๕)
- วาดภาพถ่ายทอดความคิดความรู้สึกจากเหตุการณ์ชีวิตจริง
โดยใช้เส้น รูปร่างรูปทรง
มาตรฐานง๑.๑
- อธิบายวิธีการและประโยชน์
การทำงาน
เพื่อช่วยเหลือตนเอง ครอบครัว
และส่วนรวม
(ป.๓/๑)
- ใช้วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือตรงกับลักษณะงาน
(ป.๓/๒)
-ทำงานอย่างเป็นขั้นตอนตามกระบวนการทำงานด้วย
ความสะอาดความรอบคอบ
และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคม
ประวัติศาสตร์
หน้าที่พลเมือง
สุขศึกษา
ศิลปศึกษา
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
มาตรฐาน ว ๒.๒
- สำรวจทรัพยากร
ธรรมชาติ และอภิปรายการสร้างลวดลายโดยใช้ ทรัพยากรธรรมชาติ
ในท้องถิ่น(ป.๓/๑)
- อภิปรายและ
นำเสนอการใช้ทรัพยากร ธรรมชาติ อย่างประหยัด คุ้มค่า และมีส่วนร่วมในการปฏิบัติ(ป.๓/๓)
มาตรฐาน ว ๓.๑
อธิบายการใช้ประโยชน์ของวัสดุ
แต่ละชนิดในการสร้างสรรค์ลวดลาย
(ป.๓/๒)
มาตรฐาน ว ๕.๑
อธิบายความสำคัญของลวดลายต่างๆได้
ภาคในประเทศไทยได้(ป.๓/๒)
- อธิบายเหตุผลการของการสร้างสรรค์ลวดลายของแต่ละภูมิภาค
(ป.๓/๓)มาตรฐาน ส ๔.๒
ระบุปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์ลวดลาย
(ป.๓/๑)
-สรุปลักษณะที่สำคัญของขนมธรรมเนียม ประเพณี
และวัฒนธรรมของชุมชนที่เกี่ยวข้องกับการสร้างสรรค์ลวดลาย
(ป.๓/๒)
- เปรียบเทียบความเหมือนและความต่างทางวัฒนธรรมของชุมชนตนเองกับ
ชุมชนอื่นๆ (ป.๓/๓)
จุดเน้นที่๔
ยอมรับและอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างสันติ
(ป.๓/๘)
(ป.๓/๖)
- บรรยายเหตุผลและวิธีการในการสร้างงาน
ลวดลาย (ป.๓/๗)
- บรรยายลักษณะรูปร่าง รูปทรง
ในงานการออกแบบสิ่งต่าง ๆ ที่มีในบ้านและโรงเรียน
(ป.๓/๑๐)
มาตรฐาน ศ ๑.๒
- เล่าถึงที่มาของงานทัศนศิลป์ในท้องถิ่น
(ป.๓/๑)
- อธิบายเกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ์และวิธีการสร้างงานลวดลาย
ในท้องถิ่น (ป.๓/๒)
มาตรฐาน ศ ๒.๑
จำแนกแหล่งกำเนิดของลวดลายได้ (ป.๓/๑)
มาตรฐาน ศ ๒.๒
ระบุความสำคัญและประโยชน์ของของการ
(ป.๓/๓)
มาตรฐานง๒.๑
-สร้างของเล่นของใช้อย่างง่ายโดยกำหนด
ปัญหาหรือความต้องการ รวบรวมข้อมูล
ออกแบบโดยถ่ายทอดความคิดเป็นภาพร่าง
๒ มิติ ลงมือสร้าง และประเมินผล
(ป.๓/๑)
- เลือกใช้สิ่งของเครื่องใช้ในชีวิต
ประจำวันอย่างสร้างสรรค์
(ป.๓/๒)
- มีการจัดการสิ่งของเครื่องใช้ด้วยการนำ
สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคม
ประวัติศาสตร์
หน้าที่พลเมือง
สุขศึกษา
ศิลปศึกษา
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
(ป.๓/๒)
มาตรฐาน ว ๖.๑
สืบค้นข้อมูลและอภิปรายส่วน
ประกอบในการทำลวดลายต่างๆ
(ป.๓/๒)
มาตรฐาน ว ๘.๑
-ตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่จะศึกษาตามที่กำหนดให้และตามความสนใจ
(ป.๓/๑)
- วางแผน การสังเกต
เสนอวิธีการทำลวดลายต่างๆได้
(ป.๓/๒)
- เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์
เครื่องมือที่เหมาะสมในการประดิษฐ์ลวดลาย (ป.๓/๓)
- แสดงความคิดเห็นและรวบรวมข้อมูล
มาตรฐาน ส ๕.๑
- ใช้แผนที่
แผนผังและภาพถ่ายในการหาข้อมูลทางภูมิศาสตร์ในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(ป.๓/๑)
- บอกความสัมพันธ์ของลักษณะ
ทางกายภาพกับลักษณะทางสังคมของชุมชน(ป.๓/๓)
มาตรฐาน ส ๕.๒
- เปรียบเทียบ
การเปลี่ยนแปลงของลวดลายต่างๆจากอดีตถึงปัจจุบัน
(ป.๓/๑)
- อธิบายความแตกต่างของลวดลายต่างๆของแต่ละภูมิภาค
(ป.๓/๔)
สร้างสรรค์ลวดลาย
(ป.๓/๒)
กลับมาใช้ซ้ำ
(ป.๓/๓)
มาตรฐาน ง ๓.๑
ค้นหาข้อมูล
อย่างมีขั้นตอนและนำเสนอข้อมูลในลักษณะต่างๆ
(ป.๓/๑)
สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคม
ประวัติศาสตร์
หน้าที่พลเมือง
สุขศึกษา
ศิลปศึกษา
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
จากกลุ่มนำไปสู่การสร้างความรู้เรื่องลวดลาย
(ป.๓/๗)
- นำเสนอจัดแสดง
ผลงานโดยอธิบายด้วยวาจาและเขียนแสดงกระบวนการและผลของงานให้ผู้อื่นเข้าใจ(ป.๓/๘)
สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคม
ประวัติศาสตร์
หน้าที่พลเมือง
สุขศึกษา
ศิลปศึกษา
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ที่มาและความสำคัญ
- ประวัติศาตร์
- ภูมิศาสตร์
- วิทยาศาตร์
- ศาสนา
- ภูมิปัญญา
มาตรฐาน ว ๑.๒
- อภิปรายลักษณะต่างๆของลวดลาย
(ป.๓/๑)
- เปรียบเทียบและระบุลักษณะที่คล้าย
คลึงกันของลวดลาย
(ป.๓/๒)
- สืบค้นข้อมูลและอภิปรายเกี่ยวกับการสร้างสรรค์ลวดลายจากอดีตจนถึงปัจจุบัน(ป.๓/๔)
มาตรฐาน ว ๒.๑
- สำรวจสิ่งแวดล้อม
ในท้องถิ่นของตนและอธิบายความสัมพันธ์ของการสร้างสรรค์ลวดลายต่างๆ
(ป.๓/๑)
มาตรฐาน ส ๑.๑
- อธิบายความสำคัญของลวดลายต่างๆ
(ป.๓/๑)
-บอกความหมาย
ความสำคัญของลวดลายต่างๆ
(ป.๓/๔)
มาตรฐาน ส ๒.๑
อธิบายความสำคัญของลวดลายต่างๆได้
(ป.๓/๓)
มาตรฐาน ส ๒.๒
วิเคราะห์ความแตก ต่างของกระบวนการทำลวดลายของแต่ละภูมิภาค(ป.๓/๒)
มาตรฐาน ส ๔.๒
ระบุปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์ลวดลาย
(ป.๓/๑)
- สรุปลักษณะที่สำคัญของขนมธรรม
มาตรฐาน ส ๔.๑
- สืบค้นความเป็นมาของท้องถิ่นโดยใช้หลักฐานที่หลาก
หลาย (ป.๕/๑)
- รวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆ
เพื่อตอบคำถามทางประวัติศาสตร์อย่างมีเหเตุผล(ป.๕/๑)
มาตรฐาน ส ๒.๑
- สรุปประโยชน์และปฏิบัติตนตามประ
เพณีและวัฒนธรรมในครอบครัวและท้องถิ่น(ป.๓/๑)
- บอกพฤติกรรม
การดำเนินชีวิตของตนเองและผู้อื่นที่อยู่ในกระแสวัฒนธรรม
ที่หลากหลาย
(ป.๓/๒)
-อธิบายความแตก ต่างทางวัฒนธรรมของกลุ่มคนในท้องถิ่น
(ป.๔/๔)
จุดเน้นที่๑
เห็นคุณค่าของภูมิปัญญาท้องถิ่น
(ป.๓/๓)
จุดเน้นที่๔
ยอมรับและอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างสันติ
มาตรฐาน พ ๑.๑
อธิบายลักษณะและ
วิวัฒนการในการสร้างสรรค์ลวดลาย
ท้องถิ่น(ป.๓/๑)
มาตรฐาน พ ๒.๑
- อธิบายความ
สำคัญและความแตกต่างของลวดลายแต่ละภาคได้ (ป.๓/๑)
- อธิบายวิธีสร้างสร้างสรรค์เครื่องมือในการดิษฐ์ลวดลายต่างๆ
(ป.๓/๒)
มาตรฐาน ศ ๑.๑
- บรรยายรูปร่างรูปทรง ในธรรมชาติสิ่งแวด
ล้อมและงานทัศนศิลป์เกี่ยวกับลวดลายต่างๆ
(ป.๓/๑)
- ระบุวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้สร้างผลงานลวดลาย
(ป.๓/๒)
- วาดภาพ ระบายสีสิ่งของรอบตัวให้เกิดลวดลาย
(ป.๓/๓)
- มีทักษะพื้นฐาน ในการใช้วัสดุ
อุปกรณ์สร้างสรรค์งานลวดลาย
(ป.๓/๕)
มาตรฐาน ศ ๑.๒
- เล่าถึงที่มาของงานทัศนศิลป์ในท้องถิ่น
มาตรฐานง๑.๑
- อธิบายวิธีการและประโยชน์
การทำงาน
เพื่อช่วยเหลือตนเอง ครอบครัว
และส่วนรวม
(ป.๓/๑)
- ใช้วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือตรงกับลักษณะงาน
(ป.๓/๒)
- ทำงานอย่างเป็นขั้นตอนตามกระบวนการทำงานด้วย
ความสะอาดความรอบคอบ
และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
(ป.๓/๓)
มาตรฐานง๒.๑
- สร้างของเล่นของ
สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคม
ประวัติศาสตร์
หน้าที่พลเมือง
สุขศึกษา
ศิลปศึกษา
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
มาตรฐาน ว ๒.๒
- สำรวจทรัพยากร
ธรรมชาติ
และอภิปรายการสร้างลวดลายโดยใช้
ทรัพยากรธรรมชาติ
ในท้องถิ่น(ป.๓/๑)
- อภิปรายและ
นำเสนอการใช้ทรัพยากร ธรรมชาติ อย่างประหยัด คุ้มค่า และมีส่วนร่วมในการปฏิบัติ(ป.๓/๓)
เนียม ประเพณี
และวัฒนธรรมของชุมชนที่เกี่ยวข้องกับการสร้างสรรค์ลวดลาย
(ป.๓/๒)
- เปรียบเทียบความเหมือนและความต่างทางวัฒนธรรมของชุมชนตนเองกับ
ชุมชนอื่นๆ (ป.๓/๓)
มาตรฐาน ส ๕.๑
- ใช้แผนที่
แผนผังและภาพถ่ายในการหาข้อมูลทางภูมิศาสตร์ในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(ป.๓/๑)
- บอกความสัมพันธ์ของลักษณะ
ทางกายภาพกับลักษณะทางสังคมของชุมชน(ป.๓/๓)
(ป.๓/๘)
(ป.๓/๑)
- อธิบายเกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ์และวิธีการสร้างงานลวดลาย
ในท้องถิ่น (ป.๓/๒)
มาตรฐาน ศ ๒.๑
จำแนกแหล่งกำเนิดของลวดลายได้ (ป.๓/๑) (ป.๓/๑)
- อธิบายเกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ์และวิธีการสร้างงานลวดลาย
ในท้องถิ่น (ป.๓/๒)
มาตรฐาน ศ ๒.๑
จำแนกแหล่งกำเนิดของลวดลายได้ (ป.๓/๑)
ใช้อย่างง่ายโดยกำหนด
ปัญหาหรือความต้องการ รวบรวมข้อมูล
ออกแบบโดยถ่ายทอดความคิดเป็นภาพร่าง
๒ มิติ ลงมือสร้าง และประเมินผล
(ป.๓/๑)
- เลือกใช้สิ่งของเครื่องใช้ในชีวิต
ประจำวันอย่างสร้างสรรค์
(ป.๓/๒)
- มีการจัดการสิ่งของเครื่องใช้ด้วยการนำกลับมาใช้ซ้ำ
(ป.๓/๓)
สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคม
ประวัติศาสตร์
หน้าที่พลเมือง
สุขศึกษา
ศิลปศึกษา
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ลวดลาย
- ลายผ้า
- ลายจักสาน
- ลายปั้น
- ลายไทย
มาตรฐาน ว ๑.๒
- อภิปรายลักษณะต่างๆ ของลวดลาย (ป.๓/๑)
- เปรียบเทียบและระบุลักษณะที่คล้าย
คลึงกันของลวดลาย
(ป.๓/๒)
- สืบค้นข้อมูลและอภิปรายเกี่ยวกับการสร้างสรรค์ลวดลายจากอดีตจนถึงปัจจุบัน(ป.๓/๔)
มาตรฐาน ว ๒.๑
- สำรวจสิ่งแวดล้อม
ในท้องถิ่นของตนและอธิบายความสัมพันธ์ของการสร้างสรรค์ลวดลายต่างๆ
(ป.๓/๑)
มาตรฐาน ส ๑.๑
- อธิบายความสำคัญของลวดลายต่างๆ
(ป.๓/๑)
-บอกความหมาย
ความสำคัญของลวดลายต่างๆ
(ป.๓/๔)
มาตรฐาน ส ๒.๑
อธิบายความสำคัญของลวดลายต่างๆได้
(ป.๓/๓)
มาตรฐาน ส ๒.๒
วิเคราะห์ความแตก
ต่างของกระบวนการทำลวดลายของแต่ละภูมิภาค(ป.๓/๒)
มาตรฐาน ส ๓.๒
บอกความสำคัญของลวดลายของแต่ละ
มาตรฐาน ส ๔.๑
- สืบค้นความเป็นมาของท้องถิ่นโดยใช้หลักฐานที่หลาก
หลาย (ป.๕/๑)
- รวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆ
เพื่อตอบคำถามทางประวัติศาสตร์อย่างมีเหเตุผล(ป.๕/๑)
มาตรฐาน ส ๒.๑
- สรุปประโยชน์และปฏิบัติตนตามประ
เพณีและวัฒนธรรมในครอบครัวและท้องถิ่น(ป.๓/๑)
- บอกพฤติกรรม
การดำเนินชีวิตของตนเองและผู้อื่นที่อยู่ในกระแสวัฒนธรรม
ที่หลากหลาย
(ป.๓/๒)
-อธิบายความแตก
ต่างทางวัฒนธรรมของกลุ่มคนในท้องถิ่น
(ป.๔/๔)
จุดเน้นที่๑
เห็นคุณค่าของภูมิปัญญาท้องถิ่น
(ป.๓/๓)
มาตรฐาน พ ๑.๑
อธิบายลักษณะและ
วิวัฒนการในการสร้างสรรค์ลวดลาย
ท้องถิ่น(ป.๓/๑)
มาตรฐาน พ ๒.๑
- อธิบายความ สำคัญและความแตกต่างของลวดลายแต่ละภาคได้
(ป.๓/๑)
- อธิบายวิธีสร้างสร้างสรรค์เครื่องมือในการดิษฐ์ลวดลายต่างๆ
(ป.๓/๒)
มาตรฐาน ศ ๑.๑
- บรรยายรูปร่างรูปทรง ในธรรมชาติสิ่งแวด
ล้อมและงานทัศนศิลป์เกี่ยวกับลวดลายต่างๆ
(ป.๓/๑)
- ระบุวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้สร้างผลงานลวดลาย
(ป.๓/๒)
- วาดภาพ
ระบายสีสิ่งของรอบตัวให้เกิดลวดลาย (ป.๓/๓)
- มีทักษะพื้นฐาน ในการใช้วัสดุ
อุปกรณ์สร้างสรรค์งานลวดลาย
(ป.๓/๕)
- วาดภาพถ่ายทอดความคิดความรู้สึกจากเหตุการณ์ชีวิตจริง
โดยใช้เส้น รูปร่างรูปทรง
มาตรฐานง๑.๑
- อธิบายวิธีการและประโยชน์
การทำงาน
เพื่อช่วยเหลือตนเอง ครอบครัว
และส่วนรวม
(ป.๓/๑)
- ใช้วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือตรงกับลักษณะงาน
(ป.๓/๒)
- ทำงานอย่างเป็นขั้นตอนตามกระบวนการทำงานด้วย
ความสะอาดความรอบคอบ
และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคม
ประวัติศาสตร์
หน้าที่พลเมือง
สุขศึกษา
ศิลปศึกษา
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
มาตรฐาน ว ๒.๒
- สำรวจทรัพยากร
ธรรมชาติ
และอภิปรายการสร้างลวดลายโดยใช้
ทรัพยากรธรรมชาติ
ในท้องถิ่น(ป.๓/๑)
- อภิปรายและ
นำเสนอการใช้ทรัพยากร ธรรมชาติ อย่างประหยัด คุ้มค่า และมีส่วนร่วมในการปฏิบัติ(ป.๓/๓)
มาตรฐาน ว ๓.๑
อธิบายการใช้ประโยชน์ของวัสดุ
แต่ละชนิดในการสร้างสรรค์ลวดลาย
(ป.๓/๒)
มาตรฐาน ว ๕.๑
อธิบายความสำคัญของลวดลายต่างๆได้
ภาคในประเทศไทยได้(ป.๓/๒)
- อธิบายเหตุผลการของการสร้างสรรค์ลวดลายของแต่ละภูมิภาค
(ป.๓/๓)มาตรฐาน ส ๔.๒
ระบุปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์ลวดลาย
(ป.๓/๑)
- สรุปลักษณะที่สำคัญของขนมธรรมเนียม
ประเพณี และวัฒนธรรมของชุมชนที่เกี่ยวข้องกับการสร้างสรรค์ลวดลาย
(ป.๓/๒)
- เปรียบเทียบความเหมือนและความต่างทางวัฒนธรรมของชุมชนตนเองกับ
ชุมชนอื่นๆ (ป.๓/๓)
จุดเน้นที่๔
ยอมรับและอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างสันติ
(ป.๓/๘)
(ป.๓/๖)
- บรรยายเหตุผลและวิธีการในการสร้างงาน
ลวดลาย (ป.๓/๗)
- บรรยายลักษณะรูปร่าง รูปทรง
ในงานการออกแบบสิ่งต่าง ๆ ที่มีในบ้านและโรงเรียน
(ป.๓/๑๐)
มาตรฐาน ศ ๑.๒
- เล่าถึงที่มาของงานทัศนศิลป์ในท้องถิ่น
(ป.๓/๑)
- อธิบายเกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ์และวิธีการสร้างงานลวดลาย
ในท้องถิ่น (ป.๓/๒)
มาตรฐาน ศ ๒.๑
จำแนกแหล่งกำเนิดของลวดลายได้ (ป.๓/๑)
มาตรฐาน ศ ๒.๒
ระบุความสำคัญและประโยชน์ของของการ
(ป.๓/๓)
มาตรฐานง๒.๑
- สร้างของเล่นของใช้อย่างง่ายโดยกำหนด
ปัญหาหรือความต้องการ รวบรวมข้อมูล
ออกแบบโดยถ่ายทอดความคิดเป็นภาพร่าง
๒ มิติ ลงมือสร้าง และประเมินผล
(ป.๓/๑)
- เลือกใช้สิ่งของเครื่องใช้ในชีวิต
ประจำวันอย่างสร้างสรรค์
(ป.๓/๒)
- มีการจัดการสิ่งของเครื่องใช้ด้วยการนำ
สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคม
ประวัติศาสตร์
หน้าที่พลเมือง
สุขศึกษา
ศิลปศึกษา
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
(ป.๓/๒)
มาตรฐาน ว ๖.๑
สืบค้นข้อมูลและอภิปรายส่วน
ประกอบในการทำลวดลายต่างๆ
(ป.๓/๒)
มาตรฐาน ว ๘.๑
- ตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่จะศึกษาตามที่กำหนดให้และตามความสนใจ
(ป.๓/๑)
- วางแผน การสังเกต
เสนอวิธีการทำลวดลายต่างๆได้
(ป.๓/๒)
- เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์
เครื่องมือที่เหมาะสมในการประดิษฐ์ลวดลาย (ป.๓/๓)
มาตรฐาน ส ๕.๑
- ใช้แผนที่
แผนผังและภาพถ่ายในการหาข้อมูลทางภูมิศาสตร์ในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(ป.๓/๑)
- บอกความสัมพันธ์ของลักษณะ
ทางกายภาพกับลักษณะทางสังคมของชุมชน(ป.๓/๓)
มาตรฐาน ส ๕.๒
- เปรียบเทียบ
การเปลี่ยนแปลงของลวดลายต่างๆจากอดีตถึงปัจจุบัน
(ป.๓/๑)
- อธิบายความแตกต่างของลวดลายต่างๆของแต่ละภูมิภาค
(ป.๓/๔)
สร้างสรรค์ลวดลาย
(ป.๓/๒)
กลับมาใช้ซ้ำ
(ป.๓/๓)
มาตรฐาน ง ๓.๑
ค้นหาข้อมูล
อย่างมีขั้นตอนและนำเสนอข้อมูลในลักษณะต่างๆ
(ป.๓/๑)
สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคม
ประวัติศาสตร์
หน้าที่พลเมือง
สุขศึกษา
ศิลปศึกษา
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ประโยชน์
- ตนเอง
- สังคม
- เศรษฐกิจ
มาตรฐาน ว ๑.๒
- อภิปรายลักษณะต่างๆของลวดลาย
(ป.๓/๑)
- เปรียบเทียบและระบุลักษณะที่คล้าย
คลึงกันของลวดลาย
(ป.๓/๒)
- สืบค้นข้อมูลและอภิปรายเกี่ยวกับการสร้างสรรค์ลวดลายจากอดีตจนถึงปัจจุบัน(ป.๓/๔)
มาตรฐาน ว ๒.๑
- สำรวจสิ่งแวดล้อม
ในท้องถิ่นของตนและอธิบายความสัมพันธ์ของการสร้างสรรค์ลวดลายต่างๆ
(ป.๓/๑)
มาตรฐาน ส ๑.๑
- อธิบายความสำคัญของลวดลายต่างๆ
(ป.๓/๑)
-บอกความหมาย
ความสำคัญของลวดลายต่างๆ
(ป.๓/๔)
มาตรฐาน ส ๒.๑
อธิบายความสำคัญของลวดลายต่างๆได้
(ป.๓/๓)
มาตรฐาน ส ๒.๒
วิเคราะห์ความแตก
ต่างของกระบวนการทำลวดลายของแต่ละภูมิภาค(ป.๓/๒)
มาตรฐาน ส ๔.๒
ระบุปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์ลวดลาย
(ป.๓/๑)
- สรุปลักษณะที่สำคัญของขนมธรรม
มาตรฐาน ส ๔.๑
- สืบค้นความเป็นมาของท้องถิ่นโดยใช้หลักฐานที่หลาก
หลาย (ป.๕/๑)
- รวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆ
เพื่อตอบคำถามทางประวัติศาสตร์อย่างมีเหเตุผล(ป.๕/๑)
มาตรฐาน ส ๒.๑
- สรุปประโยชน์และปฏิบัติตนตามประ
เพณีและวัฒนธรรมในครอบครัวและท้องถิ่น(ป.๓/๑)
- บอกพฤติกรรม
การดำเนินชีวิตของตนเองและผู้อื่นที่อยู่ในกระแสวัฒนธรรม
ที่หลากหลาย
(ป.๓/๒)
-อธิบายความแตก ต่างทางวัฒนธรรมของกลุ่มคนในท้องถิ่น
(ป.๔/๔)
จุดเน้นที่๑
เห็นคุณค่าของภูมิปัญญาท้องถิ่น
(ป.๓/๓)
จุดเน้นที่๔
ยอมรับและอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างสันติ
มาตรฐาน พ ๑.๑
อธิบายลักษณะและ
วิวัฒนการในการสร้างสรรค์ลวดลาย
ท้องถิ่น(ป.๓/๑)
มาตรฐาน พ ๒.๑
- อธิบายความ สำคัญและความแตกต่างของลวดลายแต่ละภาคได้
(ป.๓/๑)
- อธิบายวิธีสร้างสร้างสรรค์เครื่องมือในการดิษฐ์ลวดลายต่างๆ
(ป.๓/๒)
มาตรฐาน ศ ๑.๑
- บรรยายรูปร่างรูปทรง ในธรรมชาติสิ่งแวด
ล้อมและงานทัศนศิลป์เกี่ยวกับลวดลายต่างๆ
(ป.๓/๑)
- ระบุวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้สร้างผลงานลวดลาย
(ป.๓/๒)
- วาดภาพ
ระบายสีสิ่งของรอบตัวให้เกิดลวดลาย (ป.๓/๓)
- มีทักษะพื้นฐาน ในการใช้วัสดุ
อุปกรณ์สร้างสรรค์งานลวดลาย
(ป.๓/๕)
มาตรฐาน ศ ๒.๑
จำแนกแหล่งกำเนิดของลวดลายได้ (ป.๓/๑) (ป.๓/๑)
- อธิบายเกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ์และวิธีการ
มาตรฐานง๑.๑
- อธิบายวิธีการและประโยชน์
การทำงาน
เพื่อช่วยเหลือตนเอง ครอบครัว
และส่วนรวม
(ป.๓/๑)
- ใช้วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือตรงกับลักษณะงาน
(ป.๓/๒)
- ทำงานอย่างเป็นขั้นตอนตามกระบวนการทำงานด้วย
ความสะอาดความรอบคอบ
และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
(ป.๓/๓)
สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคม
ประวัติศาสตร์
หน้าที่พลเมือง
สุขศึกษา
ศิลปศึกษา
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
มาตรฐาน ว ๒.๒
- สำรวจทรัพยากร
ธรรมชาติ
และอภิปรายการสร้างลวดลายโดยใช้
ทรัพยากรธรรมชาติ
ในท้องถิ่น(ป.๓/๑)
- อภิปรายและ
นำเสนอการใช้ทรัพยากร ธรรมชาติ อย่างประหยัด คุ้มค่า และมีส่วนร่วมในการปฏิบัติ(ป.๓/๓)
เนียม ประเพณี
และวัฒนธรรมของชุมชนที่เกี่ยวข้องกับการสร้างสรรค์ลวดลาย
(ป.๓/๒)
- เปรียบเทียบความเหมือนและความต่างทางวัฒนธรรมของชุมชนตนเองกับ
ชุมชนอื่นๆ (ป.๓/๓)
มาตรฐาน ส ๕.๑
- ใช้แผนที่
แผนผังและภาพถ่ายในการหาข้อมูลทางภูมิศาสตร์ในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(ป.๓/๑)
- บอกความสัมพันธ์ของลักษณะ
ทางกายภาพกับลักษณะทางสังคมของชุมชน(ป.๓/๓)
(ป.๓/๘)
สร้างงานลวดลาย
ในท้องถิ่น (ป.๓/๒)
มาตรฐาน ศ ๒.๑
จำแนกแหล่งกำเนิดของลวดลายได้ (ป.๓/๑)
ใช้อย่างง่ายโดยกำหนด
ปัญหาหรือความต้องการ รวบรวมข้อมูล
ออกแบบโดยถ่ายทอดความคิดเป็นภาพร่าง
๒ มิติ ลงมือสร้าง และประเมินผล
(ป.๓/๑)
- เลือกใช้สิ่งของเครื่องใช้ในชีวิต
ประจำวันอย่างสร้างสรรค์
(ป.๓/๒)
- มีการจัดการสิ่งของเครื่องใช้ด้วยการนำกลับมาใช้ซ้ำ
(ป.๓/๓)
"""""""""""""""""""
ปฏิทินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (PBL) หน่วย
"Time ลายร้อยเรื่องราว”
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 Quarte1 ภาคเรียนที่ 1/2559
Week
Input
Process
Output
Outcome
1
16-20
พ.ค.59
โจทย์: สร้างแรงบันดาลใจ/สร้างฉันทะ
Key Questions :
- นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องอะไรบ้าง
เพราะเหตุใดจึงอยากเรียนรู้เรื่องนี้?
เครื่องมือคิด :
Brainstorms
Round Robin
Place mats
Show & Share
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้:
- ครู
- นักเรียน
สื่อ/อุปกรณ์
- บรรยากาศภายในห้องเรียน
- สื่อจริง
- รูปภาพลวดลายต่างๆ
- อุปกรณ์ในการสร้างลวดลาย
( ไม้เสียบลูกชิ้น ไหมพรม
ไหมญี่ปุ่น)
-
ครูนำตัวอย่างลวดลายแบบต่างๆ ทั้งสื่อจริงและรูปภาพ อาทิ
ลายไทย ลายบนฝาผนัง ลายบนเรือนร่าง ลวดลายบนผ้า ลายแกะสลัก ลายเครื่องปั้นดินเผา
ลายจักสาน รวมไปถึงการบรรยากาศภายในชั้นเรียน ใช้คำถามกระตุ้นความคิด “นักเรียนสังเกตเห็นอะไรบ้าง?”“นักเรียนคิดว่าสิ่งที่สังเกตเห็นมีอะไรที่เหมือนกันและมีอะไรที่แตกต่างกันอย่างไร?”
- ครูและนักเรียนสนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับสิ่งที่สังเกตเห็น
-
ครูนำผ้าลายที่ใช้ในโรงเรียนมาให้นักเรียนสังเกต ใช้คำถามกระตุ้นความคิด “เมื่อนักเรียนเห็นสิ่งนี้แล้วนึกถึงอะไร
และมีความเกี่ยวข้องกับตัวเองอย่างไร?”
- ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนกลุ่มละ 4
คน ให้นักเรียนระดมความคิดเห็นโดยผ่านเครื่องมือความคิด Place
mats และนำเสนอแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
- ครูให้นักเรียนออกแบบและสร้างลวดลายตามจินตนาการบนโครงเสื้อในกระดาษ
A4 ที่ครูแจกให้
- ครูให้นักเรียนดูตัวอย่างการสานใยแมงมุมจากไหมพรม
และใช้คำถามกระตุ้นความคิด “นักเรียนสังเกตเห็นอะไร? “เมื่อเห็นสิ่งนี้แล้วทำให้นึกถึงอะไร?”
- นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
-
ครูให้นักเรียนดูวัสดุที่ครูเตรียมไว้ คือ
ไหมพรมหลายสีและไม้เสียบลูกชิ้น ให้นักเรียนสร้างลวดลายตามจินตนาการ
-
นักเรียนนำเสนอผลงานของตนเอง และครูใช้คำถามกระตุ้นความคิด “นักเรียนมีความรู้สึกอย่างไร?” “นักเรียนเจอปัญหาหรือไม่/มีวิธีแก้ไขปัญหาอย่างไร?”
- ครูทบทวนกิจกรรมที่ในวันอังคารว่า
“ทำอะไร/มีปัญหาอะไร/มีวิธีแก้ปัญหาอย่างไร?” นักเรียนแสดงความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
- ครูให้นักเรียนดูวัสดุที่ครูเตรียมมาให้
(ไหมญี่ปุ่นหลากสี) และใช้คำถามกระตุ้นความคิด “นักเรียนเห็นอะไร?”
/ “เชือก 5 เส้น
จะทำให้เป็นลวดลายได้อย่างไรและสามารถนำมาใช้ประโยชน์อะไร?” ให้นักเรียนออกแบบและสร้างลวดลายตามจินตนาการ พร้อมนำเสนอว่าทำอะไรและนำไปใช้อย่างไร
-
นักเรียนนำเสนอผลงานของตนเอง บอกชื่อชิ้นงาน วิธีการใช้
และครูใช้คำถามกระตุ้นความคิด “นักเรียนมีความรู้สึกอย่างไร?”/
“นักเรียนเจอปัญหาหรือไม่/มีวิธีแก้ไขปัญหาอย่างไร?”
- นักเรียนแสดงความคิดเห็นแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันโดยผ่านเครื่องมือการคิด
Show & Share
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- ระดมความคิดเห็นร่วมกัน
โดยผ่านเครื่องคิด Place mats
-
ออกแบบและสร้างลวดลายเสื้อในกระดาษที่ครูแจกให้
- ออกแบบและสร้างลวดลายใยแมงมุม
-
ออกแบบและสร้างลวดลายจากไหมญี่ปุ่น
- ระดมความคิดเห็นร่วมกัน โดยผ่านเครื่องคิด
Round Rubin
ชิ้นงาน
- Place mats
- ลวดลายการสร้างใยแมงมุม
- ลวดลายจากไหมญี่ปุ่น
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
- สามารถพูดอธิบายตั้งคำถาม
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองสนใจตลอดจน
- สามารถออกแบบและวางแผนสิ่งที่ตนเองอย่างเรียนรู้ได้อย่างมีเหตุผลและเหมาะสม
ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะ ICT
คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิหน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
- มีวินัยและมุ่งมั่นในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมาย
- สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
-
รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อการทำงานกลุ่ม
- รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ
2
23
- 27
พ.ค
59
โจทย์: วางแผน การเรียนรู้
Key Question :
-
นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องอะไรใน Quarter นี้ เพราะอะไร?
-
นักเรียนจะตั้งชื่อสิ่งที่ตนเองอยากเรียนรู้ว่าอย่างไร?
-
นักเรียนจะออกแบบวางแผนการเรียนรู้ใน Quarter นี้อย่างไร?
เครื่องมือคิด :
Brainstorms
Round Robin
Blackboard Share
Think Pair Share
Mind mapping
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้:
- ครู
- นักเรียน
สื่อ/อุปกรณ์ :
- บรรยากาศภายในห้องเรียน
- สื่อจริง
- อินเทอร์เน็ต
- แท็ปเล็ต
- ครูทบทวนการบ้านจากสัปดาห์ที่แล้ว
โดยการให้นักเรียนไปคิดชื่อหน่วยการเรียนรู้ และใช้คำถามกระตุ้นความคิด“นักเรียนจะตั้งชื่อสิ่งที่ตนเองอยากเรียนรู้ว่าอย่างไร?”
- ครูให้นักเรียนเขียนชื่อหน่วยการเรียนรู้
โดยผ่านเครื่องมือการคิด Think Pair Share โดยเริ่มจากการคิดคนเดียว จากนั้นจับคู่กับคนข้างๆ
และรวมกลุ่มใหญ่จนได้ชื่อหน่วยการเรียนรู้
-นักเรียนออกแบบชื่อหน่วยการเรียนรู้
สร้างลวดลายบนชิ้นงานและนำไปติดหน้าชั้นเรียน
- ครูใช้คำถามกระตุ้นความคิด “นักเรียนรู้และอยากเรียนรู้อะไรบ้างเกี่ยวกับลวดลาย?”
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาแลกเปลี่ยน ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่รู้แล้วและอยากรู้เกี่ยวกับ
“ลวดลาย” โดยผ่านเครื่องมือการคิด Blackboard Share โดยให้นักเรียนแต่ละคนเสนอความคิดเห็นคนละข้อที่ไม่ซ้ำกัน
- นักเรียนช่วยกันออกแบบและเขียนสิ่งที่รู้แล้วและอยากรู้นำไปติดในชั้นเรียน
- ครูใช้คำถามกระตุ้นความคิด “นักเรียนจะออกแบบวางแผนการเรียนรู้ใน Quarter นี้อย่างไร?”
- นักเรียนออกแบบปฏิทินการเรียนรู้ของตนเองทั้ง10 สัปดาห์
โดยร่วมกันสนทนาแลกเปลี่ยน
ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับเกี่ยวกับกิจกรรมการเรียนรู้แต่ละสัปดาห์ร่วมกัน โดยผ่านเครื่องมือการคิด Blackboard
Share
- นักเรียนร่วมกันเขียนปฏิทินการเรียนรู้ติดในชั้นเรียน
- ครูใช้คำถามกระตุ้นความคิด “นักเรียนมีความรู้หรือความเข้าใจเกี่ยวกับลวดลายมากน้อยเพียงใด?”
นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นและอภิปรายร่วมกัน
- ครูให้นักเรียนเขียน Mind mapping ก่อนเรียน
- ครูให้นักเรียนดูคลิปกระบี่มือหนึ่ง
: 8 ขวบอัจริยะวาดลายไทย ครูใช้คำถามกระตุ้นความคิด “นักเรียนสังเกตเห็นอะไร?” ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้
-ครูและนักเรียนทบทวนเกี่ยวกับเรื่องที่ได้เรียนมาตลอดทั้งสัปดาห์พร้อมครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด
- “นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้าง?”
- “นักเรียนเจอปัญหาหรือไม่/มีวิธีแก้ไขปัญหาอย่างไร?”
- “นักเรียนจะนำความรู้ที่ได้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างไร?”
-
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาแลกเปลี่ยน
ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์นี้
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- ตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้
- เขียนสิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้
- ออกแบบปฏิทินการเรียนรู้
- สรุปสิ่งที่ได้จากการดูคลิปวีดีโอ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
- ทำ Mind mapping ก่อนเรียน
-
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน
- ชื่อหน่วยการเรียนรู้
- สิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้
- ปฏิทินการเรียนรู้
- Mind mapping ก่อนเรียน
- Web สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
- สามารถพูดอธิบายตั้งคำถาม
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองสนใจตลอดจนสามารถเลือกสิ่งที่ตนเองอยากเรียนรู้ได้
- สามารถออกแบบและวางแผนสิ่งที่ตนเองอย่างเรียนรู้ได้อย่างมีเหตุผลและเหมาะสม
ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะ ICT
คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิหน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
- มีวินัยและมุ่งมั่นในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมาย
- สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
-
รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อการทำงานกลุ่ม
- รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ
3
30
พ.ค.59
-
3
มิ.ย.59
โจทย์ ภูมิหลังของลาย
- ลายพื้นถิ่น
- ลวดลายบนผืนผ้า
Key Questions :
- นักเรียนคิดว่าลายผ้าสามารถบอกอะไรได้บ้าง
เพราะเหตุใด?
- ทำไมคนแต่ละพื้นถิ่นมีลายผ้าไม่เหมือนกัน?
เครื่องมือคิด :
Brainstorms
Round Robin
Jigsaw
Show and Share
Web
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้:
- ครู
- นักเรียน
สื่อ/อุปกรณ์ :
- บรรยากาศภายในห้องเรียน
- คลิปวีดีโอ
- อินเทอร์เน็ต
- แท็ปเล็ต
- สื่อจริง (ผ้ามัดย้อม)
-
ครูให้นักเรียนดูตัวอย่างลายผ้าที่แสดงถึงความเป็นภูมิภาคต่างๆ
ใช้คำถามกระตุ้นความคิด “นักเรียนคิดว่า ลวดลายบนผ้ามีที่มาและมีความแตกต่างกันอย่างไร?”
-
ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนกลุ่มละ 4 คน ให้ศึกษาลายผ้าแต่ละแบบ
-นักเรียนวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่สังเกตเห็นจากลวดลายของผ้าตัวอย่าง
ครูและนักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ความแตกต่างของลวดลายของผ้าแต่ละภูมิภาค
- ครูให้นักเรียนดูคลิปวีดีโอ “เรื่องราวบนผืนผ้าดำ”
-
ครูใช้คำถามกระตุ้นความคิดว่า “นักเรียนได้เรียนรู้อะไรจากการดูคลิปวีดีโอ?”
-นักเรียนตอบคำถาม ระดมความคิดเห็น แลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน
- ครูเตรียมอุปกรณ์ต่างๆที่จะใช้ทำผ้ามัดย้อม
และให้นักเรียนลองทำผ้ามัดย้อมด้วยตนเอง
-
ครูและนักเรียนทบทวนเกี่ยวกับเรื่องที่ได้เรียนมาตลอดทั้งสัปดาห์
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- ออกแบบและวางแผนการเรียนรู้ร่วมกัน
- ค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับลายผ้าในแต่ละภูมิภาค
- นำเสนองานที่ได้ค้นคว้ามาให้น่าสนใจ
- วิเคราะห์ข้อมูล ระดมความคิดเห็น
- ออกแบบและสร้างลวดลายต่างๆบนผ้า
ชิ้นงาน
- ชาร์ตความรู้ลายผ้า
- ผ้ามัดย้อม
- ปะติดลายผ้า
- Web สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
นักเรียนมีความเข้าใจและสามารถอธิบายวิธีการสร้างลวดลายบนผ้าในแบบต่างๆ
สามารถเชื่อมโยงความสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้องกับสังคม ความเชื่อ ประเพณี วัฒนธรรม
และภูมิปัญญาที่เกี่ยวเนื่องให้เกิดผ้าลายต่างๆ
อีกทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้มาประยุกต์เป็นสรรค์สร้างเป็นชิ้นงานได้
ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะ ICT
คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิหน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
- มีวินัยและมุ่งมั่นในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมาย
- สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
-
รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อการทำงานกลุ่ม
- รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ
- เคารพตนเอง และผู้อื่น
4
6-10
มิ.ย
59
โจทย์: ลวดลายจักสาน
Key Question :
ลวดลายจักสานมีความสำคัญและเกี่ยวข้องอย่างไรกับวิถีชีวิตของคนในแต่ละท้องถิ่น?
เครื่องมือคิด :
Brainstorms
Round Robin
Jigsaw
Show and Share
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
- ครู
- นักเรียน
สื่อ/อุปกรณ์ :
- บรรยากาศภายในห้องเรียน
- สื่อจริง
(เครื่องจักสานแบบต่างๆ, อุปกรณ์ในการทอเสื่อ)
- กก ไหล ใบมะพร้าว ใบตาล
-ครูให้นักเรียนสังเกตเครื่องจักสานแบบต่างๆ
ที่ครูเตรียมมา พร้อมใช้คำถามกระตุ้นความคิด
“นักเรียนสังเกตเห็นอะไรบ้าง?”
“นักเรียนคิดว่าสิ่งที่เห็นทำมาจากอะไร
มีวิธีการอย่างไรในการสร้างสิ่งนี้?”
“นักเรียนรู้จักลายสานอะไรบ้าง
นักเรียนเจอลายสานที่ไหน”
“ในแต่ละภูมิภาคมีลวดลายจักสาน
หรือ อุปกรณ์อะไรบ้าง?” ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาแลกเปลี่ยนระดมความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับลายสาน
หรือ อุปกรณ์ของแต่ละภูมิภาคเชื่อมโยงสู่ภูมิปัญญา และสังคมนั้นๆ
- นักเรียนสานกล่องใส่ของจากวัสดุเหลือใช้(กล่องนม)
- ครูและนักเรียนทบทวนกิจกรรมในวันจันทร์ที่ผ่านมา
ครูใช้คำถามกระตุ้นความคิด “นักเรียนคิดว่าการจักสานสามารถนำวัสดุอะไรมาทำได้บ้าง
และทำเป็นอะไรได้บ้าง?” ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาแลกเปลี่ยนระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับวัสดุที่นำมาจักสาน
และสิ่งของจากการจักสาน
- ครูเตรียมอุปกรณ์สำหรับการทอเสื่อและให้นักเรียนได้เรียนรู้วิธีการทอเสื่อและออกแบบลายเสื่อด้วยตนเอง
- ครูนำของเล่นจากการสานใบมะพร้าวมาให้นักเรียนดู
และใช้คำถามกระตุ้นความคิด “นักเรียนสังเกตเห็นอะไรบ้าง?” / “สิ่งที่นักเรียนเห็นทำมาจากสิ่งใด?” ครูและนักเรียนร่วมกันตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นร่วมกัน แบ่งกลุ่มนักเรียน
กลุ่มละ 4 คน ให้นักเรียนทำของเล่นจากใบมะพร้าว
- ครูและนักเรียนทบทนเกี่ยวกับเรื่องที่ได้เรียนมาตลอดทั้งสัปดาห์พร้อมครูตั้งคำถามกระตุ้นความคิด “นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้าง?”/ “นักเรียนเจอปัญหาหรือไม่/มีวิธีแก้ไขปัญหาอย่างไร?”/ “นักเรียนจะนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ในชีวิติประจำวันได้อย่างไร?” ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาแลกเปลี่ยน ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ตลอดสัปดาห์นี้
- นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ตามความสนใจของตนเอง
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- การบ้าน
นักเรียนค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับลวดลาย หรือ อุปกรณ์จักสานต่างๆของแต่ละภูมิภาค
(เหนือ กลาง ใต้ ตะวันตก ตะวันออก และ ตะวันออกเฉียงเหนือ พร้อมนำเสนอ
- นักเรียนสรรค์สร้างชิ้นงานโดยการสานจากวัสดุต่างๆ
ชิ้นงาน
- การสานของใช้จากกล่องนม
- นักเรียนทอเสื่อกก
- การสานใบลานและใบมะพร้าว
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายความเป็นมาของลายจักสานแต่ละวัฒนธรรม
ความเชื่อ เชื่อมโยงถึงภูมิปัญญา และ สังคมถิ่นฐานตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะ ICT
คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิหน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ- เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
- มีวินัยและมุ่งมั่นในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมาย-สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
-
รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อการทำงานกลุ่ม
- รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ
5
13
- 17
มิ.ย.
59
โจทย์: ลวดลายเครื่องปั้นดินเผา
Key Questions :
- “นักเรียนคิดว่าลายปั้นสามารถบอกอะไรได้บ้างเพราะเหตุใด?”
- “ทำไมคนแต่ละพื้นถิ่นถึงมีลายปั้นไม่เหมือนกัน?”
เครื่องมือคิด
Brainstorms
Round Robin
Jigsaw
Show and Share
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้:
- ครู
- นักเรียน
สื่อ/อุปกรณ์ :
- บรรยากาศภายในห้องเรียน
- สื่อจริง
(เครื่องปั้นดินเผา)
- อินเทอร์เน็ต
- ครูให้นักเรียนสังเกตคลิป “เครื่องปั้นดินเผา” สื่อจริงและภาพของเครื่องปั้นแบบต่างๆ อาทิ โอ่งมังกร หม้อดิน ถ้วยชาม
แก้วกาแฟ นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่สังเกตเห็น
- แบ่งกลุ่มนักเรียนเป็น 4 กลุ่ม ให้ดูภาพลายแต่ละภูมิภาค เช่น
ภาคกลางเป็นเครื่องสังคโลก ภาคเหนือเป็นเครื่องถ้วยล้านนา
ภาคอีสานเป็นลายบ้านเชียง และภาคใต้เป็นลายกุณฑี ครูใช้คำถามกระตุ้นความคิด “นักเรียนเห็นอะไร?”/“ภาพที่เห็นสื่อสารอะไร?”/“มีความเกี่ยวข้องและสัมพันธ์กับสิ่งใดบ้าง?”/
“มีภูมิหลังและมีที่มาอย่างไร?”
- นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันตอบคำถามและวางแผนออกแบบการเรียนรู้
- ครูให้นักเรียนนำเสนอข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นเกี่ยวกับลายเครื่องปั้นในแบบต่างๆ ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปราย
แสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
และครูใช้คำถามกระตุ้นความคิด
“นักเรียนมีวิธีการสร้างลายที่บ่งบอกถึงวิถีชีวิตความเป็นอยู่หรือลักษณะเฉพาะของตนเองโดยใช้วัสดุขึ้นลายหรือเขียนลายพื้นถิ่นอย่างไร?”
- นักเรียนออกแบบการสร้างลาย
เช่น การเตรียมดิน หาดินสีต่างๆ การผสมดินเพื่อให้เกิดสีที่ต้องการและสรรค์สร้างลวดลายของตนเองตามที่ออกแบบไว้
นำเสนอผลงานของตนเอง แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน และพัฒนางานต่อ
- นักเรียนนำเสนอผลงานของตนเอง
พร้อมบอกเหตุผลว่า “ทำไมถึงสร้างลายนี้
เพราะอะไร และมีที่มาอย่างไร?”
- ครูและนักเรียนทบทวนเกี่ยวกับเรื่องที่ได้เรียนมาตลอดทั้งสัปดาห์
ร่วมกันสนทนาแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์นี้
-
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
-
วางแผนออกแบบการเรียนรู้
-
สร้างสรรค์ผลงานการปั้นและออกแบบลวดลายของตนเอง
- นำเสนอผลงาน
-
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน
- เครื่องปั้นดินเผาและการออกแบบลาย
-
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
สามารถอธิบายเกี่ยวกับลายปั้นแต่ละท้องถิ่นมีความเป็นมาที่เกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตความเป็นอยู่เกี่ยวเนื่องให้เกิดลายต่างๆ
อีกทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้มาประยุกต์เป็นชิ้นงานที่สรรค์สร้างได้
ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะ ICT
คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิหน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
- มีวินัยและมุ่งมั่นในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมาย
- สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
-
รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อการทำงานกลุ่ม
- รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ
6
20
- 24
มิ.ย.
59
โจทย์: ลวดลายแกะสลัก
Key Questions :
“ลวดลายงานแกะสลักมีความสำคัญและเกี่ยวข้องอย่างไรกับวิถีชีวิตของคนแต่ละท้องถิ่นอย่างไร?”
เครื่องมือคิด :
Brainstorms Round Robin Show and
Share
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้:
- ครู
- นักเรียน
สื่อ/อุปกรณ์:
- บรรยากาศภายในห้องเรียน
- อินเทอร์เน็ต
- สื่อจริง (ดินเหนียวแกะสลัก)
- รูปภาพ
- ครูให้นักเรียนดูรูปภาพลายแกะสลักแบบต่างๆ
ทั้งลายนูนสูง ลายนูนต่ำ ลายกระเบื้อง ลายไม้ ลายหิน ฯลฯ
- นักเรียนวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่สังเกตเห็น
- แบ่งกลุ่มนักเรียนเป็น 4 กลุ่ม
ให้ดูภาพลายที่ครูให้ซึ่งมีความแตกต่างกัน ครูใช้คำถามกระตุ้นความคิด
“นักเรียนเห็นอะไร?”
“ภาพที่เห็นสื่อสารอะไร?”
“มีความเกี่ยวข้องและสัมพันธ์กับสิ่งใดบ้าง?”
“มีภูมิหลังและมีที่มาอย่างไร?”
-นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันตอบคำถามและสำรวจลายเครื่องปั้นต่างๆที่มีอยู่ในบริเวณโรงเรียน
- นักเรียนออกแบบการแกะสลักสร้างลาย
เช่น แกะดินเหนียว(งานปั้น)
- นักเรียนสรรค์สร้างลวดลายแกะสลักของตนเองตามที่ออกแบบไว้
และนำเสนอผลงานของตนเอง พร้อมบอกเหตุผลว่า “ทำไมถึงสร้างลายนี้ เพราะอะไร และมีที่มาอย่างไร?”
- ครูและนักเรียนทบทวนเกี่ยวกับเรื่องที่ได้เรียนมาตลอดทั้งสัปดาห์
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์นี้
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- สำรวจลายเครื่องปั้นในโรงเรียน
- การแกะสลักดินเหนียว
- นำเสนองาน
ชิ้นงาน
- การแกะสลักดินเหนียว
- ภาพลายเครื่องปั้นจากการสำรวจ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายลักษณะของลวดลายแกะสลักในแบบต่างๆที่เชื่อมโยงกับวิถีชีวิตของคนแต่ละท้องถิ่น
ทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้มาประยุกต์เป็นชิ้นงานที่สรรค์สร้างได้
ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะ ICT
คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิหน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ- เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
- มีวินัยและมุ่งมั่นในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมาย-สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
-
รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อการทำงานกลุ่ม
- รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ
7
27มิ.ย.59
-
1
ก.ค 59
โจทย์: ช่วงเวลาของการเกิดลาย
Key Question :
นักเรียนสามารถประยุกต์ลวดลายเป็นของตนเองได้หรือไม่
อย่างไร?
เครื่องมือคิด :
Brainstorms
Round Rubin
Time line
Show and Share
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้:
- ครู
- นักเรียน
สื่อ/อุปกรณ์ :
- บรรยากาศภายในห้องเรียน
- แท็ปเล็ต คอมพิวเตอร์
- อินเทอร์เน็ต
- กระดาษชาร์ต สี ดินเสอ
- ครูทบทวนกิจกรรมการเรียนรู้ตลอดหลายสัปดาห์เกี่ยวกับการสร้างลวดลายต่างๆ และใช้คำถามกระตุ้นความคิดเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้มาและลวดลายอื่นๆที่นักเรียนรู้จัก
ครูและนักเรียนร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
-นักเรียนแบ่งกลุ่มเป็น 4 กลุ่ม
ได้แก่ ภาคอีสาน ภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคใต้
- นักเรียนสืบค้นข้อมูลและออกแบบการทำ Time
line ช่วงเวลาของการเกิดลายตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
- นักเรียนนำเสนอผลงานแต่ละกลุ่ม
- ครูและนักเรียนทบทวนเกี่ยวกับเรื่องที่ได้เรียนมาตลอดทั้งสัปดาห์
ร่วมกันสนทนาแลกเปลี่ยน
ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์นี้
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- การสืบค้นข้อมูล
- การทำ Time
line ช่วงเวลาของการเกิดลายตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
- นำเสนอผล อภิปรายร่วมกัน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน
- Time line ช่วงเวลาของการเกิดลายตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลวดลายต่างๆที่มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกับวิถีชีวิต
ตลอดจนนำมาประยุกต์ใช้สรรค์สร้างเป็นชิ้นงานที่สร้างรายได้และอาชีพได้
ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะ ICT
คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิหน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
- มีวินัยและมุ่งมั่นในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมาย
- สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
-
รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อการทำงานกลุ่ม
- รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ
8
4
- 8
ก.ค.
59
โจทย์ : ลวดลายประยุกต์
แสดงถึงความเป็นอัตลักษณ์เอกลักษณ์เฉพาะตน
สร้างรายได้สร้างอาชีพ
Key Question :
นักเรียนสามารถประยุกต์ลวดลายเป็นของตนเองได้หรือไม่
อย่างไร?
เครื่องมือคิด :
Brainstorms
Round Robin
Show and Share
Flow Chart
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้:
- ครู
- นักเรียน
สื่อ/อุปกรณ์ :
- บรรยากาศภายในห้องเรียน
- รูปภาพลวดลายต่างๆ
- ครูทบทวนกิจกรรมที่เรียนมาตลอดหลายสัปดาห์
ทบทวนกิจกรรมและชิ้นงานของลวดลายต่างๆ ที่ได้เรียนมา
และให้ดูรูปภาพชิ้นงานเพิ่มเติม ใช้คำถามกระตุ้นความคิด “นักเรียนชอบกิจกรรมใดมากที่สุด
และสามารถสร้างชิ้นงานของตนเองจากกิจกรรมที่ผ่านมาได้อย่างไร?”
- นักเรียนออกแบบประยุกต์การใช้ลวดลายในการทำชิ้นงานของตนเอง
ผ่านกิจกรรมที่แต่ละคนสนใจ โดยที่ชิ้นงานสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้จริง
- นักเรียนนำเสนอแผนงานการออกแบบและเริ่มทำชิ้นงานของตนเอง
นำเสนอผลงาน ครูและนักเรียนแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ดูความก้าวหน้าและพัฒนาชิ้นงานต่อไป
- ครูและนักเรียนทบทวนเกี่ยวกับเรื่องที่ได้เรียนมาตลอดทั้งสัปดาห์
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
-
วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่สังเกตเห็นจากคลิปวีดีโอ
- สร้างลวดลายที่แสดงถึงความเป็นตัวตนเกี่ยวกับตัวเอง
- นำเสนอผล
อภิปรายร่วมกัน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน
- ลวดลายความเป็นตัวตน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลวดลายต่างๆที่มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกับวิถีชีวิต
ตลอดจนนำมาประยุกต์ใช้สรรค์สร้างเป็นชิ้นงานที่สร้างรายได้และอาชีพได้
ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะ ICT
คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิหน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
- มีวินัยและมุ่งมั่นในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมาย
- สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
-
รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อการทำงานกลุ่ม
9
11
- 15
ก.ค.
59
โจทย์: ความ
สัมพันธ์กับวิถีชีวิต
Key Questions :
- นักเรียนจะออกแบบลวดลายที่แสดงความเป็นวัฒนธรรมหรือกลุ่มคนเดียวกันได้อย่างไร?
เครื่องมือคิด :
Brainstorms
Round Robin
Jigsaw
Show and Share
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
- ครู
- นักเรียน
สื่อ/อุปกรณ์ :
- บรรยากาศภายใน
- คลิปวีดีโอและภาพการสร้างลวดลายต่างๆ
- ครูทบทวนกิจกรรมจากการทำชิ้นงานของนักเรียน
เปิดคลิปวีดีโอและภาพการสร้างลวดลายในแบบต่างๆ ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด “นักเรียนจะออกแบบลวดลายที่แสดงความเป็นวัฒนธรรมหรือกลุ่มคนเดียวกันได้อย่างไร?”
-
ครูให้นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับลวดลายในกลุ่มของตน
พร้อมวางแผนและออกแบบการเรียนรู้
- นักเรียนออกแบบสร้างลวดลายเป็นชิ้นงานของห้องเรียนที่แสดงให้เห็นถึงความเป็นอัตลักษณ์ของคนในชั้นเรียน
- นำเสนอผลงาน ครูและนักเรียนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
- ครูและนักเรียนทบทวนเกี่ยวกับเรื่องที่ได้เรียนมาตลอดทั้งสัปดาห์พร้อมครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด
“นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้าง?”
“นักเรียนเจอปัญหาหรือไม่/มีวิธีแก้ไขปัญหาอย่างไร?”
“นักเรียนจะนำความรู้ที่ได้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างไร?”
“นักเรียนอยากเรียนรู้เพิ่มเติมในประเด็นใดบ้าง?”
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาแลกเปลี่ยน
ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์นี้
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- วางแผนและออกแบบการทำงาน
- นำเสนองาน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน
- ชิ้นงานของห้องเรียน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
เข้าใจและอธิบายได้ว่าลวดลายที่เกิดขึ้นมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกับวิถีชีวิตของกลุ่มคนเดียวกันจากอดีตถึงปัจจุบันได้สามารถนำความรู้ที่ได้
มาประยุกต์ทำชิ้นงาน ได้อย่างสร้างสรรค์ อีกทั้งแก้ปัญหาจากการสร้างชิ้นงานได้อย่างหลากหลาย
ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะ ICT
คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิหน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ- เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
- มีวินัยและมุ่งมั่นในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมาย-สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
-
รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อการทำงานกลุ่ม
- รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ
10
21
- 22
ก.ค.
59
โจทย์: สรุปองค์ความรู้หน่วย “Time ลายร้อยเรื่องราว”
เครื่องมือคิด :
Brainstorms
Round Robin
Mind Mapping
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
- ครู
- นักเรียน
สื่อ/อุปกรณ์ :
- บรรยากาศภายในห้องเรียน
- กระดาษ สี ดินสอ
- ครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด “ตลอด Quarter นี้
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาแลกเปลี่ยน
ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ใน Quarter 1
- นักเรียนสรุปองค์ความรู้หลังเรียนในรูปแบบ Mind Mapping
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ใน Quarter
1
- สรุปองค์ความรู้หลังเรียนในรูปแบบ Mind
Mapping
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน
- สรุปองค์ความรู้หลังเรียนในรูปแบบ Mind
Mapping
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
เข้าใจและอธิบายได้ว่าลวดลายที่เกิดขึ้นมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกับวิถีชีวิตของกลุ่มคนเดียวกันจากอดีตถึงปัจจุบันได้สามารถนำความรู้ที่ได้
มาประยุกต์ทำชิ้นงาน ได้อย่างสร้างสรรค์ อีกทั้งแก้ปัญหาจากการสร้างชิ้นงานได้อย่างหลากหลาย
ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะ ICT
คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิหน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ- เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
- มีวินัยและมุ่งมั่นในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมาย-สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
-
รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อการทำงานกลุ่ม
- รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ
11
25
- 29
ก.ค.
59
โจทย์: นำเสนอสิ่งที่เรียนรู้
Key Questions :
- นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างใน Quarter นี้?
- นักเรียนจะเผยแพร่องค์ความรู้
หน่วย “Time ลายร้อยเรื่องราว” ให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างไร?
เครื่องมือคิด :
Brainstorms
Round Rubin
Mind Mapping
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
- ครู
- นักเรียน
- ผู้ปกครอง
สื่อ/อุปกรณ์:
- บรรยากาศภายในห้องเรียน
- ชิ้นงานลวดลายต่างๆ
ที่ใช้ประกอบการนำเสนอ
- นักเรียนสรุปองค์ความรู้หลังเรียนในรูปแบบ Mind Mapping
- นักเรียนแต่ละคนเขียนประเมินตนเองสิ่งที่ทำได้ดีแล้วและสิ่งที่ควรพัฒนาเพิ่มเติม
- นักเรียนวางแผนการจัดนิทรรศการนำเสนอข้อมูล
- นักเรียนเตรียมตัว และซ้อมนำเสนอองค์ความรู้ใน Quarter 1
- นักเรียนนำเสนอถ่ายทอดองค์ความรู้หน่วย
“Time ลายร้อยเรื่องราว” ให้
พี่ๆน้องๆ และ ผู้ปกครองชื่นชม
- นักเรียนตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้
พร้อมสิ่งที่ทำได้ดีแล้ว และการพัฒนาใน Quarter หน้า
- นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ตามความสนใจของตนเอง
ภาระงาน
- สรุปองค์ความรู้หลังเรียนในรูปแบบ Mind Mapping
- ประเมินตนเองสิ่งที่ทำได้ดีแล้วและสิ่งที่ควรพัฒนาเพิ่มเติม
- นำเสนอถ่ายทอดองค์ความรู้
- ตอบคำถามหลังเรียน
ชิ้นงาน
- สรุปองค์ความรู้หลังเรียนในรูปแบบ Mind
Mapping
- ประเมินตนเองสิ่งที่ทำได้ดีแล้วและสิ่งที่ควรพัฒนาเพิ่มเติม
- ตอบคำถามหลังเรียน
ความรู้
นักเรียนเข้าใจสามารถอธิบายและนำเสนอถ่ายทอดสิ่งที่ได้เรียนรู้ตลอทั้ง Quarter หน่วย “Time ลายร้อยเรื่องราว”เชื่อมโยงเข้าสู่ภูมิภาคแต่ละภาค
อีกทั้งสามารถนำความรู้ไปปรับใช้หรือประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม
ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะ ICT
คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิหน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
- มีวินัยและมุ่งมั่นในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมาย
- สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
-
รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อการทำงานกลุ่ม
- รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
|
||||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคม
|
ประวัติศาสตร์
|
หน้าที่พลเมือง
|
สุขศึกษา
|
ศิลปศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
|||
สร้างฉันทะ/วางแผนการเรียนรู้
- สร้างแรงบันดาลใจ
- เรื่องที่อยากเรียนรู้
- เลือกหัวข้อหน่อยการเรียนรู้
- สิ่งที่รู้แล้ว
- สิ่งที่อยากเรียนรู้
- ปฏิทินการเรียนรู้
- Mind mappingก่อนเรียน
|
มาตรฐาน ว ๑.๒
-อภิปรายลักษณะต่างๆ ของลวดลาย (ป.๓/๑)
- เปรียบเทียบและระบุลักษณะที่คล้าย
คลึงกันของลวดลาย
(ป.๓/๒)
- สืบค้นข้อมูลและอภิปรายเกี่ยวกับการสร้างสรรค์ลวดลายจากอดีตจนถึงปัจจุบัน(ป.๓/๔)
มาตรฐาน ว ๒.๑
- สำรวจสิ่งแวดล้อม
ในท้องถิ่นของตนและอธิบายความสัมพันธ์ของการสร้างสรรค์ลวดลายต่างๆ
(ป.๓/๑)
|
มาตรฐาน ส ๑.๑
- อธิบายความสำคัญของลวดลายต่างๆ
-บอกความหมาย
ความสำคัญของลวดลายต่างๆ
(ป.๓/๔)
มาตรฐาน ส ๒.๑
อธิบายความสำคัญของลวดลายต่างๆได้
(ป.๓/๓)
มาตรฐาน ส ๒.๒
วิเคราะห์ความแตก
ต่างของกระบวนการทำลวดลายของแต่ละภูมิภาค(ป.๓/๒)
มาตรฐาน ส ๓.๒
บอกความสำคัญของลวดลายของแต่ละ
|
มาตรฐาน ส ๔.๑
-สืบค้นความเป็นมาของท้องถิ่นโดยใช้หลักฐานที่หลาก
หลาย (ป.๕/๑)
-รวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆ
เพื่อตอบคำถามทางประวัติศาสตร์อย่างมีเหเตุผล(ป.๕/๑)
|
มาตรฐาน ส ๒.๑
- สรุปประโยชน์และปฏิบัติตนตามประ
เพณีและวัฒนธรรมในครอบครัวและท้องถิ่น(ป.๓/๑)
- บอกพฤติกรรม
การดำเนินชีวิตของตนเองและผู้อื่นที่อยู่ในกระแสวัฒนธรรม
ที่หลากหลาย
(ป.๓/๒)
-อธิบายความแตก
ต่างทางวัฒนธรรมของกลุ่มคนในท้องถิ่น
(ป.๔/๔)
จุดเน้นที่๑
เห็นคุณค่าของภูมิปัญญาท้องถิ่น
(ป.๓/๓)
|
มาตรฐาน พ ๑.๑
อธิบายลักษณะและ
วิวัฒนการในการสร้างสรรค์ลวดลาย
ท้องถิ่น(ป.๓/๑)
มาตรฐาน พ ๒.๑
-อธิบายความ
สำคัญและความแตกต่างของลวดลายแต่ละภาคได้ (ป.๓/๑)
- อธิบายวิธีสร้างสร้างสรรค์เครื่องมือในการดิษฐ์ลวดลายต่างๆ
(ป.๓/๒)
|
มาตรฐาน ศ ๑.๑
-บรรยายรูปร่างรูปทรง ในธรรมชาติสิ่งแวด
ล้อมและงานทัศนศิลป์เกี่ยวกับลวดลายต่างๆ
(ป.๓/๑)
- ระบุวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้สร้างผลงานลวดลาย
(ป.๓/๒)
- วาดภาพ
ระบายสีสิ่งของรอบตัวให้เกิดลวดลาย (ป.๓/๓)
- มีทักษะพื้นฐาน ในการใช้วัสดุ
อุปกรณ์สร้างสรรค์งานลวดลาย
(ป.๓/๕)
- วาดภาพถ่ายทอดความคิดความรู้สึกจากเหตุการณ์ชีวิตจริง
โดยใช้เส้น รูปร่างรูปทรง
|
มาตรฐานง๑.๑
- อธิบายวิธีการและประโยชน์
การทำงาน
เพื่อช่วยเหลือตนเอง ครอบครัว
และส่วนรวม
(ป.๓/๑)
- ใช้วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือตรงกับลักษณะงาน
(ป.๓/๒)
-ทำงานอย่างเป็นขั้นตอนตามกระบวนการทำงานด้วย
ความสะอาดความรอบคอบ
และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
|
||
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
|
||||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคม
|
ประวัติศาสตร์
|
หน้าที่พลเมือง
|
สุขศึกษา
|
ศิลปศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
|||
มาตรฐาน ว ๒.๒
- สำรวจทรัพยากร
ธรรมชาติ และอภิปรายการสร้างลวดลายโดยใช้ ทรัพยากรธรรมชาติ
ในท้องถิ่น(ป.๓/๑)
- อภิปรายและ
นำเสนอการใช้ทรัพยากร ธรรมชาติ อย่างประหยัด คุ้มค่า และมีส่วนร่วมในการปฏิบัติ(ป.๓/๓)
มาตรฐาน ว ๓.๑
อธิบายการใช้ประโยชน์ของวัสดุ
แต่ละชนิดในการสร้างสรรค์ลวดลาย
(ป.๓/๒)
มาตรฐาน ว ๕.๑
อธิบายความสำคัญของลวดลายต่างๆได้
|
ภาคในประเทศไทยได้(ป.๓/๒)
- อธิบายเหตุผลการของการสร้างสรรค์ลวดลายของแต่ละภูมิภาค
(ป.๓/๓)มาตรฐาน ส ๔.๒
ระบุปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์ลวดลาย
(ป.๓/๑)
-สรุปลักษณะที่สำคัญของขนมธรรมเนียม ประเพณี
และวัฒนธรรมของชุมชนที่เกี่ยวข้องกับการสร้างสรรค์ลวดลาย
(ป.๓/๒)
- เปรียบเทียบความเหมือนและความต่างทางวัฒนธรรมของชุมชนตนเองกับ
ชุมชนอื่นๆ (ป.๓/๓)
|
จุดเน้นที่๔
ยอมรับและอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างสันติ
(ป.๓/๘)
|
(ป.๓/๖)
- บรรยายเหตุผลและวิธีการในการสร้างงาน
ลวดลาย (ป.๓/๗)
- บรรยายลักษณะรูปร่าง รูปทรง
ในงานการออกแบบสิ่งต่าง ๆ ที่มีในบ้านและโรงเรียน
(ป.๓/๑๐)
มาตรฐาน ศ ๑.๒
- เล่าถึงที่มาของงานทัศนศิลป์ในท้องถิ่น
(ป.๓/๑)
- อธิบายเกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ์และวิธีการสร้างงานลวดลาย
ในท้องถิ่น (ป.๓/๒)
มาตรฐาน ศ ๒.๑
จำแนกแหล่งกำเนิดของลวดลายได้ (ป.๓/๑)
มาตรฐาน ศ ๒.๒
ระบุความสำคัญและประโยชน์ของของการ
|
(ป.๓/๓)
มาตรฐานง๒.๑
-สร้างของเล่นของใช้อย่างง่ายโดยกำหนด
ปัญหาหรือความต้องการ รวบรวมข้อมูล
ออกแบบโดยถ่ายทอดความคิดเป็นภาพร่าง
๒ มิติ ลงมือสร้าง และประเมินผล
(ป.๓/๑)
- เลือกใช้สิ่งของเครื่องใช้ในชีวิต
ประจำวันอย่างสร้างสรรค์
(ป.๓/๒)
- มีการจัดการสิ่งของเครื่องใช้ด้วยการนำ
|
|||||
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
|
||||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคม
|
ประวัติศาสตร์
|
หน้าที่พลเมือง
|
สุขศึกษา
|
ศิลปศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
|||
(ป.๓/๒)
มาตรฐาน ว ๖.๑
สืบค้นข้อมูลและอภิปรายส่วน
ประกอบในการทำลวดลายต่างๆ
(ป.๓/๒)
มาตรฐาน ว ๘.๑
-ตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่จะศึกษาตามที่กำหนดให้และตามความสนใจ
(ป.๓/๑)
- วางแผน การสังเกต
เสนอวิธีการทำลวดลายต่างๆได้
(ป.๓/๒)
- เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์
เครื่องมือที่เหมาะสมในการประดิษฐ์ลวดลาย (ป.๓/๓)
- แสดงความคิดเห็นและรวบรวมข้อมูล
|
มาตรฐาน ส ๕.๑
- ใช้แผนที่
แผนผังและภาพถ่ายในการหาข้อมูลทางภูมิศาสตร์ในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(ป.๓/๑)
- บอกความสัมพันธ์ของลักษณะ
ทางกายภาพกับลักษณะทางสังคมของชุมชน(ป.๓/๓)
มาตรฐาน ส ๕.๒
- เปรียบเทียบ
การเปลี่ยนแปลงของลวดลายต่างๆจากอดีตถึงปัจจุบัน
(ป.๓/๑)
- อธิบายความแตกต่างของลวดลายต่างๆของแต่ละภูมิภาค
(ป.๓/๔)
|
สร้างสรรค์ลวดลาย
(ป.๓/๒)
|
กลับมาใช้ซ้ำ
(ป.๓/๓)
มาตรฐาน ง ๓.๑
ค้นหาข้อมูล
อย่างมีขั้นตอนและนำเสนอข้อมูลในลักษณะต่างๆ
(ป.๓/๑)
|
||||||
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
|
||||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคม
|
ประวัติศาสตร์
|
หน้าที่พลเมือง
|
สุขศึกษา
|
ศิลปศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
|||
จากกลุ่มนำไปสู่การสร้างความรู้เรื่องลวดลาย
(ป.๓/๗)
- นำเสนอจัดแสดง
ผลงานโดยอธิบายด้วยวาจาและเขียนแสดงกระบวนการและผลของงานให้ผู้อื่นเข้าใจ(ป.๓/๘)
|
|||||||||
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
|
||||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคม
|
ประวัติศาสตร์
|
หน้าที่พลเมือง
|
สุขศึกษา
|
ศิลปศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
|||
ที่มาและความสำคัญ
- ประวัติศาตร์
- ภูมิศาสตร์
- วิทยาศาตร์
- ศาสนา
- ภูมิปัญญา
|
มาตรฐาน ว ๑.๒
- อภิปรายลักษณะต่างๆของลวดลาย
(ป.๓/๑)
- เปรียบเทียบและระบุลักษณะที่คล้าย
คลึงกันของลวดลาย
(ป.๓/๒)
- สืบค้นข้อมูลและอภิปรายเกี่ยวกับการสร้างสรรค์ลวดลายจากอดีตจนถึงปัจจุบัน(ป.๓/๔)
มาตรฐาน ว ๒.๑
- สำรวจสิ่งแวดล้อม
ในท้องถิ่นของตนและอธิบายความสัมพันธ์ของการสร้างสรรค์ลวดลายต่างๆ
(ป.๓/๑)
|
มาตรฐาน ส ๑.๑
- อธิบายความสำคัญของลวดลายต่างๆ
(ป.๓/๑)
-บอกความหมาย
ความสำคัญของลวดลายต่างๆ
(ป.๓/๔)
มาตรฐาน ส ๒.๑
อธิบายความสำคัญของลวดลายต่างๆได้
(ป.๓/๓)
มาตรฐาน ส ๒.๒
วิเคราะห์ความแตก ต่างของกระบวนการทำลวดลายของแต่ละภูมิภาค(ป.๓/๒)
มาตรฐาน ส ๔.๒
ระบุปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์ลวดลาย
(ป.๓/๑)
- สรุปลักษณะที่สำคัญของขนมธรรม
|
มาตรฐาน ส ๔.๑
- สืบค้นความเป็นมาของท้องถิ่นโดยใช้หลักฐานที่หลาก
หลาย (ป.๕/๑)
- รวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆ
เพื่อตอบคำถามทางประวัติศาสตร์อย่างมีเหเตุผล(ป.๕/๑)
|
มาตรฐาน ส ๒.๑
- สรุปประโยชน์และปฏิบัติตนตามประ
เพณีและวัฒนธรรมในครอบครัวและท้องถิ่น(ป.๓/๑)
- บอกพฤติกรรม
การดำเนินชีวิตของตนเองและผู้อื่นที่อยู่ในกระแสวัฒนธรรม
ที่หลากหลาย
(ป.๓/๒)
-อธิบายความแตก ต่างทางวัฒนธรรมของกลุ่มคนในท้องถิ่น
(ป.๔/๔)
จุดเน้นที่๑
เห็นคุณค่าของภูมิปัญญาท้องถิ่น
(ป.๓/๓)
จุดเน้นที่๔
ยอมรับและอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างสันติ
|
มาตรฐาน พ ๑.๑
อธิบายลักษณะและ
วิวัฒนการในการสร้างสรรค์ลวดลาย
ท้องถิ่น(ป.๓/๑)
มาตรฐาน พ ๒.๑
- อธิบายความ
สำคัญและความแตกต่างของลวดลายแต่ละภาคได้ (ป.๓/๑)
- อธิบายวิธีสร้างสร้างสรรค์เครื่องมือในการดิษฐ์ลวดลายต่างๆ
(ป.๓/๒)
|
มาตรฐาน ศ ๑.๑
- บรรยายรูปร่างรูปทรง ในธรรมชาติสิ่งแวด
ล้อมและงานทัศนศิลป์เกี่ยวกับลวดลายต่างๆ
(ป.๓/๑)
- ระบุวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้สร้างผลงานลวดลาย
(ป.๓/๒)
- วาดภาพ ระบายสีสิ่งของรอบตัวให้เกิดลวดลาย
(ป.๓/๓)
- มีทักษะพื้นฐาน ในการใช้วัสดุ
อุปกรณ์สร้างสรรค์งานลวดลาย
(ป.๓/๕)
มาตรฐาน ศ ๑.๒
- เล่าถึงที่มาของงานทัศนศิลป์ในท้องถิ่น
|
มาตรฐานง๑.๑
- อธิบายวิธีการและประโยชน์
การทำงาน
เพื่อช่วยเหลือตนเอง ครอบครัว
และส่วนรวม
(ป.๓/๑)
- ใช้วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือตรงกับลักษณะงาน
(ป.๓/๒)
- ทำงานอย่างเป็นขั้นตอนตามกระบวนการทำงานด้วย
ความสะอาดความรอบคอบ
และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
(ป.๓/๓)
มาตรฐานง๒.๑
- สร้างของเล่นของ
|
||
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
|
||||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคม
|
ประวัติศาสตร์
|
หน้าที่พลเมือง
|
สุขศึกษา
|
ศิลปศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
|||
มาตรฐาน ว ๒.๒
- สำรวจทรัพยากร
ธรรมชาติ
และอภิปรายการสร้างลวดลายโดยใช้
ทรัพยากรธรรมชาติ
ในท้องถิ่น(ป.๓/๑)
- อภิปรายและ
นำเสนอการใช้ทรัพยากร ธรรมชาติ อย่างประหยัด คุ้มค่า และมีส่วนร่วมในการปฏิบัติ(ป.๓/๓)
|
เนียม ประเพณี
และวัฒนธรรมของชุมชนที่เกี่ยวข้องกับการสร้างสรรค์ลวดลาย
(ป.๓/๒)
- เปรียบเทียบความเหมือนและความต่างทางวัฒนธรรมของชุมชนตนเองกับ
ชุมชนอื่นๆ (ป.๓/๓)
มาตรฐาน ส ๕.๑
- ใช้แผนที่
แผนผังและภาพถ่ายในการหาข้อมูลทางภูมิศาสตร์ในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(ป.๓/๑)
- บอกความสัมพันธ์ของลักษณะ
ทางกายภาพกับลักษณะทางสังคมของชุมชน(ป.๓/๓)
|
(ป.๓/๘)
|
(ป.๓/๑)
- อธิบายเกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ์และวิธีการสร้างงานลวดลาย
ในท้องถิ่น (ป.๓/๒)
มาตรฐาน ศ ๒.๑
จำแนกแหล่งกำเนิดของลวดลายได้ (ป.๓/๑) (ป.๓/๑)
- อธิบายเกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ์และวิธีการสร้างงานลวดลาย
ในท้องถิ่น (ป.๓/๒)
มาตรฐาน ศ ๒.๑
จำแนกแหล่งกำเนิดของลวดลายได้ (ป.๓/๑)
|
ใช้อย่างง่ายโดยกำหนด
ปัญหาหรือความต้องการ รวบรวมข้อมูล
ออกแบบโดยถ่ายทอดความคิดเป็นภาพร่าง
๒ มิติ ลงมือสร้าง และประเมินผล
(ป.๓/๑)
- เลือกใช้สิ่งของเครื่องใช้ในชีวิต
ประจำวันอย่างสร้างสรรค์
(ป.๓/๒)
- มีการจัดการสิ่งของเครื่องใช้ด้วยการนำกลับมาใช้ซ้ำ
(ป.๓/๓)
|
|||||
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
|
||||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคม
|
ประวัติศาสตร์
|
หน้าที่พลเมือง
|
สุขศึกษา
|
ศิลปศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
|||
ลวดลาย
- ลายผ้า
- ลายจักสาน
- ลายปั้น
- ลายไทย
|
มาตรฐาน ว ๑.๒
- อภิปรายลักษณะต่างๆ ของลวดลาย (ป.๓/๑)
- เปรียบเทียบและระบุลักษณะที่คล้าย
คลึงกันของลวดลาย
(ป.๓/๒)
- สืบค้นข้อมูลและอภิปรายเกี่ยวกับการสร้างสรรค์ลวดลายจากอดีตจนถึงปัจจุบัน(ป.๓/๔)
มาตรฐาน ว ๒.๑
- สำรวจสิ่งแวดล้อม
ในท้องถิ่นของตนและอธิบายความสัมพันธ์ของการสร้างสรรค์ลวดลายต่างๆ
(ป.๓/๑)
|
มาตรฐาน ส ๑.๑
- อธิบายความสำคัญของลวดลายต่างๆ
(ป.๓/๑)
-บอกความหมาย
ความสำคัญของลวดลายต่างๆ
(ป.๓/๔)
มาตรฐาน ส ๒.๑
อธิบายความสำคัญของลวดลายต่างๆได้
(ป.๓/๓)
มาตรฐาน ส ๒.๒
วิเคราะห์ความแตก
ต่างของกระบวนการทำลวดลายของแต่ละภูมิภาค(ป.๓/๒)
มาตรฐาน ส ๓.๒
บอกความสำคัญของลวดลายของแต่ละ
|
มาตรฐาน ส ๔.๑
- สืบค้นความเป็นมาของท้องถิ่นโดยใช้หลักฐานที่หลาก
หลาย (ป.๕/๑)
- รวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆ
เพื่อตอบคำถามทางประวัติศาสตร์อย่างมีเหเตุผล(ป.๕/๑)
|
มาตรฐาน ส ๒.๑
- สรุปประโยชน์และปฏิบัติตนตามประ
เพณีและวัฒนธรรมในครอบครัวและท้องถิ่น(ป.๓/๑)
- บอกพฤติกรรม
การดำเนินชีวิตของตนเองและผู้อื่นที่อยู่ในกระแสวัฒนธรรม
ที่หลากหลาย
(ป.๓/๒)
-อธิบายความแตก
ต่างทางวัฒนธรรมของกลุ่มคนในท้องถิ่น
(ป.๔/๔)
จุดเน้นที่๑
เห็นคุณค่าของภูมิปัญญาท้องถิ่น
(ป.๓/๓)
|
มาตรฐาน พ ๑.๑
อธิบายลักษณะและ
วิวัฒนการในการสร้างสรรค์ลวดลาย
ท้องถิ่น(ป.๓/๑)
มาตรฐาน พ ๒.๑
- อธิบายความ สำคัญและความแตกต่างของลวดลายแต่ละภาคได้
(ป.๓/๑)
- อธิบายวิธีสร้างสร้างสรรค์เครื่องมือในการดิษฐ์ลวดลายต่างๆ
(ป.๓/๒)
|
มาตรฐาน ศ ๑.๑
- บรรยายรูปร่างรูปทรง ในธรรมชาติสิ่งแวด
ล้อมและงานทัศนศิลป์เกี่ยวกับลวดลายต่างๆ
(ป.๓/๑)
- ระบุวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้สร้างผลงานลวดลาย
(ป.๓/๒)
- วาดภาพ
ระบายสีสิ่งของรอบตัวให้เกิดลวดลาย (ป.๓/๓)
- มีทักษะพื้นฐาน ในการใช้วัสดุ
อุปกรณ์สร้างสรรค์งานลวดลาย
(ป.๓/๕)
- วาดภาพถ่ายทอดความคิดความรู้สึกจากเหตุการณ์ชีวิตจริง
โดยใช้เส้น รูปร่างรูปทรง
|
มาตรฐานง๑.๑
- อธิบายวิธีการและประโยชน์
การทำงาน
เพื่อช่วยเหลือตนเอง ครอบครัว
และส่วนรวม
(ป.๓/๑)
- ใช้วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือตรงกับลักษณะงาน
(ป.๓/๒)
- ทำงานอย่างเป็นขั้นตอนตามกระบวนการทำงานด้วย
ความสะอาดความรอบคอบ
และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
|
||
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
|
||||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคม
|
ประวัติศาสตร์
|
หน้าที่พลเมือง
|
สุขศึกษา
|
ศิลปศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
|||
มาตรฐาน ว ๒.๒
- สำรวจทรัพยากร
ธรรมชาติ
และอภิปรายการสร้างลวดลายโดยใช้
ทรัพยากรธรรมชาติ
ในท้องถิ่น(ป.๓/๑)
- อภิปรายและ
นำเสนอการใช้ทรัพยากร ธรรมชาติ อย่างประหยัด คุ้มค่า และมีส่วนร่วมในการปฏิบัติ(ป.๓/๓)
มาตรฐาน ว ๓.๑
อธิบายการใช้ประโยชน์ของวัสดุ
แต่ละชนิดในการสร้างสรรค์ลวดลาย
(ป.๓/๒)
มาตรฐาน ว ๕.๑
อธิบายความสำคัญของลวดลายต่างๆได้
|
ภาคในประเทศไทยได้(ป.๓/๒)
- อธิบายเหตุผลการของการสร้างสรรค์ลวดลายของแต่ละภูมิภาค
(ป.๓/๓)มาตรฐาน ส ๔.๒
ระบุปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์ลวดลาย
(ป.๓/๑)
- สรุปลักษณะที่สำคัญของขนมธรรมเนียม
ประเพณี และวัฒนธรรมของชุมชนที่เกี่ยวข้องกับการสร้างสรรค์ลวดลาย
(ป.๓/๒)
- เปรียบเทียบความเหมือนและความต่างทางวัฒนธรรมของชุมชนตนเองกับ
ชุมชนอื่นๆ (ป.๓/๓)
|
จุดเน้นที่๔
ยอมรับและอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างสันติ
(ป.๓/๘)
|
(ป.๓/๖)
- บรรยายเหตุผลและวิธีการในการสร้างงาน
ลวดลาย (ป.๓/๗)
- บรรยายลักษณะรูปร่าง รูปทรง
ในงานการออกแบบสิ่งต่าง ๆ ที่มีในบ้านและโรงเรียน
(ป.๓/๑๐)
มาตรฐาน ศ ๑.๒
- เล่าถึงที่มาของงานทัศนศิลป์ในท้องถิ่น
(ป.๓/๑)
- อธิบายเกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ์และวิธีการสร้างงานลวดลาย
ในท้องถิ่น (ป.๓/๒)
มาตรฐาน ศ ๒.๑
จำแนกแหล่งกำเนิดของลวดลายได้ (ป.๓/๑)
มาตรฐาน ศ ๒.๒
ระบุความสำคัญและประโยชน์ของของการ
|
(ป.๓/๓)
มาตรฐานง๒.๑
- สร้างของเล่นของใช้อย่างง่ายโดยกำหนด
ปัญหาหรือความต้องการ รวบรวมข้อมูล
ออกแบบโดยถ่ายทอดความคิดเป็นภาพร่าง
๒ มิติ ลงมือสร้าง และประเมินผล
(ป.๓/๑)
- เลือกใช้สิ่งของเครื่องใช้ในชีวิต
ประจำวันอย่างสร้างสรรค์
(ป.๓/๒)
- มีการจัดการสิ่งของเครื่องใช้ด้วยการนำ
|
|||||
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
|
||||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคม
|
ประวัติศาสตร์
|
หน้าที่พลเมือง
|
สุขศึกษา
|
ศิลปศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
|||
(ป.๓/๒)
มาตรฐาน ว ๖.๑
สืบค้นข้อมูลและอภิปรายส่วน
ประกอบในการทำลวดลายต่างๆ
(ป.๓/๒)
มาตรฐาน ว ๘.๑
- ตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่จะศึกษาตามที่กำหนดให้และตามความสนใจ
(ป.๓/๑)
- วางแผน การสังเกต
เสนอวิธีการทำลวดลายต่างๆได้
(ป.๓/๒)
- เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์
เครื่องมือที่เหมาะสมในการประดิษฐ์ลวดลาย (ป.๓/๓)
|
มาตรฐาน ส ๕.๑
- ใช้แผนที่
แผนผังและภาพถ่ายในการหาข้อมูลทางภูมิศาสตร์ในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(ป.๓/๑)
- บอกความสัมพันธ์ของลักษณะ
ทางกายภาพกับลักษณะทางสังคมของชุมชน(ป.๓/๓)
มาตรฐาน ส ๕.๒
- เปรียบเทียบ
การเปลี่ยนแปลงของลวดลายต่างๆจากอดีตถึงปัจจุบัน
(ป.๓/๑)
- อธิบายความแตกต่างของลวดลายต่างๆของแต่ละภูมิภาค
(ป.๓/๔)
|
สร้างสรรค์ลวดลาย
(ป.๓/๒)
|
กลับมาใช้ซ้ำ
(ป.๓/๓)
มาตรฐาน ง ๓.๑
ค้นหาข้อมูล
อย่างมีขั้นตอนและนำเสนอข้อมูลในลักษณะต่างๆ
(ป.๓/๑)
|
||||||
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
|
||||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคม
|
ประวัติศาสตร์
|
หน้าที่พลเมือง
|
สุขศึกษา
|
ศิลปศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
|||
ประโยชน์
- ตนเอง
- สังคม
- เศรษฐกิจ
|
มาตรฐาน ว ๑.๒
- อภิปรายลักษณะต่างๆของลวดลาย
(ป.๓/๑)
- เปรียบเทียบและระบุลักษณะที่คล้าย
คลึงกันของลวดลาย
(ป.๓/๒)
- สืบค้นข้อมูลและอภิปรายเกี่ยวกับการสร้างสรรค์ลวดลายจากอดีตจนถึงปัจจุบัน(ป.๓/๔)
มาตรฐาน ว ๒.๑
- สำรวจสิ่งแวดล้อม
ในท้องถิ่นของตนและอธิบายความสัมพันธ์ของการสร้างสรรค์ลวดลายต่างๆ
(ป.๓/๑)
|
มาตรฐาน ส ๑.๑
- อธิบายความสำคัญของลวดลายต่างๆ
(ป.๓/๑)
-บอกความหมาย
ความสำคัญของลวดลายต่างๆ
(ป.๓/๔)
มาตรฐาน ส ๒.๑
อธิบายความสำคัญของลวดลายต่างๆได้
(ป.๓/๓)
มาตรฐาน ส ๒.๒
วิเคราะห์ความแตก
ต่างของกระบวนการทำลวดลายของแต่ละภูมิภาค(ป.๓/๒)
มาตรฐาน ส ๔.๒
ระบุปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์ลวดลาย
(ป.๓/๑)
- สรุปลักษณะที่สำคัญของขนมธรรม
|
มาตรฐาน ส ๔.๑
- สืบค้นความเป็นมาของท้องถิ่นโดยใช้หลักฐานที่หลาก
หลาย (ป.๕/๑)
- รวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆ
เพื่อตอบคำถามทางประวัติศาสตร์อย่างมีเหเตุผล(ป.๕/๑)
|
มาตรฐาน ส ๒.๑
- สรุปประโยชน์และปฏิบัติตนตามประ
เพณีและวัฒนธรรมในครอบครัวและท้องถิ่น(ป.๓/๑)
- บอกพฤติกรรม
การดำเนินชีวิตของตนเองและผู้อื่นที่อยู่ในกระแสวัฒนธรรม
ที่หลากหลาย
(ป.๓/๒)
-อธิบายความแตก ต่างทางวัฒนธรรมของกลุ่มคนในท้องถิ่น
(ป.๔/๔)
จุดเน้นที่๑
เห็นคุณค่าของภูมิปัญญาท้องถิ่น
(ป.๓/๓)
จุดเน้นที่๔
ยอมรับและอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างสันติ
|
มาตรฐาน พ ๑.๑
อธิบายลักษณะและ
วิวัฒนการในการสร้างสรรค์ลวดลาย
ท้องถิ่น(ป.๓/๑)
มาตรฐาน พ ๒.๑
- อธิบายความ สำคัญและความแตกต่างของลวดลายแต่ละภาคได้
(ป.๓/๑)
- อธิบายวิธีสร้างสร้างสรรค์เครื่องมือในการดิษฐ์ลวดลายต่างๆ
(ป.๓/๒)
|
มาตรฐาน ศ ๑.๑
- บรรยายรูปร่างรูปทรง ในธรรมชาติสิ่งแวด
ล้อมและงานทัศนศิลป์เกี่ยวกับลวดลายต่างๆ
(ป.๓/๑)
- ระบุวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้สร้างผลงานลวดลาย
(ป.๓/๒)
- วาดภาพ
ระบายสีสิ่งของรอบตัวให้เกิดลวดลาย (ป.๓/๓)
- มีทักษะพื้นฐาน ในการใช้วัสดุ
อุปกรณ์สร้างสรรค์งานลวดลาย
(ป.๓/๕)
มาตรฐาน ศ ๒.๑
จำแนกแหล่งกำเนิดของลวดลายได้ (ป.๓/๑) (ป.๓/๑)
- อธิบายเกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ์และวิธีการ
|
มาตรฐานง๑.๑
- อธิบายวิธีการและประโยชน์
การทำงาน
เพื่อช่วยเหลือตนเอง ครอบครัว
และส่วนรวม
(ป.๓/๑)
- ใช้วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือตรงกับลักษณะงาน
(ป.๓/๒)
- ทำงานอย่างเป็นขั้นตอนตามกระบวนการทำงานด้วย
ความสะอาดความรอบคอบ
และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
(ป.๓/๓)
|
||
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
|
||||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคม
|
ประวัติศาสตร์
|
หน้าที่พลเมือง
|
สุขศึกษา
|
ศิลปศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
|||
มาตรฐาน ว ๒.๒
- สำรวจทรัพยากร
ธรรมชาติ
และอภิปรายการสร้างลวดลายโดยใช้
ทรัพยากรธรรมชาติ
ในท้องถิ่น(ป.๓/๑)
- อภิปรายและ
นำเสนอการใช้ทรัพยากร ธรรมชาติ อย่างประหยัด คุ้มค่า และมีส่วนร่วมในการปฏิบัติ(ป.๓/๓)
|
เนียม ประเพณี
และวัฒนธรรมของชุมชนที่เกี่ยวข้องกับการสร้างสรรค์ลวดลาย
(ป.๓/๒)
- เปรียบเทียบความเหมือนและความต่างทางวัฒนธรรมของชุมชนตนเองกับ
ชุมชนอื่นๆ (ป.๓/๓)
มาตรฐาน ส ๕.๑
- ใช้แผนที่
แผนผังและภาพถ่ายในการหาข้อมูลทางภูมิศาสตร์ในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(ป.๓/๑)
- บอกความสัมพันธ์ของลักษณะ
ทางกายภาพกับลักษณะทางสังคมของชุมชน(ป.๓/๓)
|
(ป.๓/๘)
|
สร้างงานลวดลาย
ในท้องถิ่น (ป.๓/๒)
มาตรฐาน ศ ๒.๑
จำแนกแหล่งกำเนิดของลวดลายได้ (ป.๓/๑)
|
ใช้อย่างง่ายโดยกำหนด
ปัญหาหรือความต้องการ รวบรวมข้อมูล
ออกแบบโดยถ่ายทอดความคิดเป็นภาพร่าง
๒ มิติ ลงมือสร้าง และประเมินผล
(ป.๓/๑)
- เลือกใช้สิ่งของเครื่องใช้ในชีวิต
ประจำวันอย่างสร้างสรรค์
(ป.๓/๒)
- มีการจัดการสิ่งของเครื่องใช้ด้วยการนำกลับมาใช้ซ้ำ
(ป.๓/๓)
|
ปฏิทินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (PBL) หน่วย
"Time ลายร้อยเรื่องราว”
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 Quarte1 ภาคเรียนที่ 1/2559
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
1
16-20
พ.ค.59
|
โจทย์: สร้างแรงบันดาลใจ/สร้างฉันทะ
Key Questions :
- นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องอะไรบ้าง
เพราะเหตุใดจึงอยากเรียนรู้เรื่องนี้?
เครื่องมือคิด :
Brainstorms
Round Robin
Place mats
Show & Share
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้:
- ครู
- นักเรียน
สื่อ/อุปกรณ์
- บรรยากาศภายในห้องเรียน
- สื่อจริง
- รูปภาพลวดลายต่างๆ
- อุปกรณ์ในการสร้างลวดลาย
( ไม้เสียบลูกชิ้น ไหมพรม
ไหมญี่ปุ่น)
|
-
ครูนำตัวอย่างลวดลายแบบต่างๆ ทั้งสื่อจริงและรูปภาพ อาทิ
ลายไทย ลายบนฝาผนัง ลายบนเรือนร่าง ลวดลายบนผ้า ลายแกะสลัก ลายเครื่องปั้นดินเผา
ลายจักสาน รวมไปถึงการบรรยากาศภายในชั้นเรียน ใช้คำถามกระตุ้นความคิด “นักเรียนสังเกตเห็นอะไรบ้าง?”“นักเรียนคิดว่าสิ่งที่สังเกตเห็นมีอะไรที่เหมือนกันและมีอะไรที่แตกต่างกันอย่างไร?”
- ครูและนักเรียนสนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับสิ่งที่สังเกตเห็น
-
ครูนำผ้าลายที่ใช้ในโรงเรียนมาให้นักเรียนสังเกต ใช้คำถามกระตุ้นความคิด “เมื่อนักเรียนเห็นสิ่งนี้แล้วนึกถึงอะไร
และมีความเกี่ยวข้องกับตัวเองอย่างไร?”
- ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนกลุ่มละ 4
คน ให้นักเรียนระดมความคิดเห็นโดยผ่านเครื่องมือความคิด Place
mats และนำเสนอแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
- ครูให้นักเรียนออกแบบและสร้างลวดลายตามจินตนาการบนโครงเสื้อในกระดาษ
A4 ที่ครูแจกให้
- ครูให้นักเรียนดูตัวอย่างการสานใยแมงมุมจากไหมพรม
และใช้คำถามกระตุ้นความคิด “นักเรียนสังเกตเห็นอะไร? “เมื่อเห็นสิ่งนี้แล้วทำให้นึกถึงอะไร?”
- นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
-
ครูให้นักเรียนดูวัสดุที่ครูเตรียมไว้ คือ
ไหมพรมหลายสีและไม้เสียบลูกชิ้น ให้นักเรียนสร้างลวดลายตามจินตนาการ
-
นักเรียนนำเสนอผลงานของตนเอง และครูใช้คำถามกระตุ้นความคิด “นักเรียนมีความรู้สึกอย่างไร?” “นักเรียนเจอปัญหาหรือไม่/มีวิธีแก้ไขปัญหาอย่างไร?”
- ครูทบทวนกิจกรรมที่ในวันอังคารว่า
“ทำอะไร/มีปัญหาอะไร/มีวิธีแก้ปัญหาอย่างไร?” นักเรียนแสดงความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
- ครูให้นักเรียนดูวัสดุที่ครูเตรียมมาให้
(ไหมญี่ปุ่นหลากสี) และใช้คำถามกระตุ้นความคิด “นักเรียนเห็นอะไร?”
/ “เชือก 5 เส้น
จะทำให้เป็นลวดลายได้อย่างไรและสามารถนำมาใช้ประโยชน์อะไร?” ให้นักเรียนออกแบบและสร้างลวดลายตามจินตนาการ พร้อมนำเสนอว่าทำอะไรและนำไปใช้อย่างไร
-
นักเรียนนำเสนอผลงานของตนเอง บอกชื่อชิ้นงาน วิธีการใช้
และครูใช้คำถามกระตุ้นความคิด “นักเรียนมีความรู้สึกอย่างไร?”/
“นักเรียนเจอปัญหาหรือไม่/มีวิธีแก้ไขปัญหาอย่างไร?”
- นักเรียนแสดงความคิดเห็นแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันโดยผ่านเครื่องมือการคิด
Show & Share
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- ระดมความคิดเห็นร่วมกัน
โดยผ่านเครื่องคิด Place mats
-
ออกแบบและสร้างลวดลายเสื้อในกระดาษที่ครูแจกให้
- ออกแบบและสร้างลวดลายใยแมงมุม
-
ออกแบบและสร้างลวดลายจากไหมญี่ปุ่น
- ระดมความคิดเห็นร่วมกัน โดยผ่านเครื่องคิด
Round Rubin
ชิ้นงาน
- Place mats
- ลวดลายการสร้างใยแมงมุม
- ลวดลายจากไหมญี่ปุ่น
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
- สามารถพูดอธิบายตั้งคำถาม
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองสนใจตลอดจน
- สามารถออกแบบและวางแผนสิ่งที่ตนเองอย่างเรียนรู้ได้อย่างมีเหตุผลและเหมาะสม
ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะ ICT
คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิหน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
- มีวินัยและมุ่งมั่นในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมาย
- สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
-
รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อการทำงานกลุ่ม
- รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ
|
2
23
- 27
พ.ค
59
|
โจทย์: วางแผน การเรียนรู้
Key Question :
-
นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องอะไรใน Quarter นี้ เพราะอะไร?
-
นักเรียนจะตั้งชื่อสิ่งที่ตนเองอยากเรียนรู้ว่าอย่างไร?
-
นักเรียนจะออกแบบวางแผนการเรียนรู้ใน Quarter นี้อย่างไร?
เครื่องมือคิด :
Brainstorms
Round Robin
Blackboard Share
Think Pair Share
Mind mapping
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้:
- ครู
- นักเรียน
สื่อ/อุปกรณ์ :
- บรรยากาศภายในห้องเรียน
- สื่อจริง
- อินเทอร์เน็ต
- แท็ปเล็ต
|
- ครูทบทวนการบ้านจากสัปดาห์ที่แล้ว
โดยการให้นักเรียนไปคิดชื่อหน่วยการเรียนรู้ และใช้คำถามกระตุ้นความคิด“นักเรียนจะตั้งชื่อสิ่งที่ตนเองอยากเรียนรู้ว่าอย่างไร?”
- ครูให้นักเรียนเขียนชื่อหน่วยการเรียนรู้
โดยผ่านเครื่องมือการคิด Think Pair Share โดยเริ่มจากการคิดคนเดียว จากนั้นจับคู่กับคนข้างๆ
และรวมกลุ่มใหญ่จนได้ชื่อหน่วยการเรียนรู้
-นักเรียนออกแบบชื่อหน่วยการเรียนรู้
สร้างลวดลายบนชิ้นงานและนำไปติดหน้าชั้นเรียน
- ครูใช้คำถามกระตุ้นความคิด “นักเรียนรู้และอยากเรียนรู้อะไรบ้างเกี่ยวกับลวดลาย?”
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาแลกเปลี่ยน ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่รู้แล้วและอยากรู้เกี่ยวกับ
“ลวดลาย” โดยผ่านเครื่องมือการคิด Blackboard Share โดยให้นักเรียนแต่ละคนเสนอความคิดเห็นคนละข้อที่ไม่ซ้ำกัน
- นักเรียนช่วยกันออกแบบและเขียนสิ่งที่รู้แล้วและอยากรู้นำไปติดในชั้นเรียน
- ครูใช้คำถามกระตุ้นความคิด “นักเรียนจะออกแบบวางแผนการเรียนรู้ใน Quarter นี้อย่างไร?”
- นักเรียนออกแบบปฏิทินการเรียนรู้ของตนเองทั้ง10 สัปดาห์
โดยร่วมกันสนทนาแลกเปลี่ยน
ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับเกี่ยวกับกิจกรรมการเรียนรู้แต่ละสัปดาห์ร่วมกัน โดยผ่านเครื่องมือการคิด Blackboard
Share
- นักเรียนร่วมกันเขียนปฏิทินการเรียนรู้ติดในชั้นเรียน
- ครูใช้คำถามกระตุ้นความคิด “นักเรียนมีความรู้หรือความเข้าใจเกี่ยวกับลวดลายมากน้อยเพียงใด?”
นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นและอภิปรายร่วมกัน
- ครูให้นักเรียนเขียน Mind mapping ก่อนเรียน
- ครูให้นักเรียนดูคลิปกระบี่มือหนึ่ง
: 8 ขวบอัจริยะวาดลายไทย ครูใช้คำถามกระตุ้นความคิด “นักเรียนสังเกตเห็นอะไร?” ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้
-ครูและนักเรียนทบทวนเกี่ยวกับเรื่องที่ได้เรียนมาตลอดทั้งสัปดาห์พร้อมครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด
- “นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้าง?”
- “นักเรียนเจอปัญหาหรือไม่/มีวิธีแก้ไขปัญหาอย่างไร?”
- “นักเรียนจะนำความรู้ที่ได้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างไร?”
-
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาแลกเปลี่ยน
ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์นี้
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- ตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้
- เขียนสิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้
- ออกแบบปฏิทินการเรียนรู้
- สรุปสิ่งที่ได้จากการดูคลิปวีดีโอ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
- ทำ Mind mapping ก่อนเรียน
-
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน
- ชื่อหน่วยการเรียนรู้
- สิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้
- ปฏิทินการเรียนรู้
- Mind mapping ก่อนเรียน
- Web สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
- สามารถพูดอธิบายตั้งคำถาม
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองสนใจตลอดจนสามารถเลือกสิ่งที่ตนเองอยากเรียนรู้ได้
- สามารถออกแบบและวางแผนสิ่งที่ตนเองอย่างเรียนรู้ได้อย่างมีเหตุผลและเหมาะสม
ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะ ICT
คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิหน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
- มีวินัยและมุ่งมั่นในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมาย
- สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
-
รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อการทำงานกลุ่ม
- รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ
|
3
30
พ.ค.59
-
3
มิ.ย.59
|
โจทย์ ภูมิหลังของลาย
- ลายพื้นถิ่น
- ลวดลายบนผืนผ้า
Key Questions :
- นักเรียนคิดว่าลายผ้าสามารถบอกอะไรได้บ้าง
เพราะเหตุใด?
- ทำไมคนแต่ละพื้นถิ่นมีลายผ้าไม่เหมือนกัน?
เครื่องมือคิด :
Brainstorms
Round Robin
Jigsaw
Show and Share
Web
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้:
- ครู
- นักเรียน
สื่อ/อุปกรณ์ :
- บรรยากาศภายในห้องเรียน
- คลิปวีดีโอ
- อินเทอร์เน็ต
- แท็ปเล็ต
- สื่อจริง (ผ้ามัดย้อม)
|
-
ครูให้นักเรียนดูตัวอย่างลายผ้าที่แสดงถึงความเป็นภูมิภาคต่างๆ
ใช้คำถามกระตุ้นความคิด “นักเรียนคิดว่า ลวดลายบนผ้ามีที่มาและมีความแตกต่างกันอย่างไร?”
-
ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนกลุ่มละ 4 คน ให้ศึกษาลายผ้าแต่ละแบบ
-นักเรียนวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่สังเกตเห็นจากลวดลายของผ้าตัวอย่าง
ครูและนักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ความแตกต่างของลวดลายของผ้าแต่ละภูมิภาค
- ครูให้นักเรียนดูคลิปวีดีโอ “เรื่องราวบนผืนผ้าดำ”
-
ครูใช้คำถามกระตุ้นความคิดว่า “นักเรียนได้เรียนรู้อะไรจากการดูคลิปวีดีโอ?”
-นักเรียนตอบคำถาม ระดมความคิดเห็น แลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน
- ครูเตรียมอุปกรณ์ต่างๆที่จะใช้ทำผ้ามัดย้อม
และให้นักเรียนลองทำผ้ามัดย้อมด้วยตนเอง
-
ครูและนักเรียนทบทวนเกี่ยวกับเรื่องที่ได้เรียนมาตลอดทั้งสัปดาห์
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- ออกแบบและวางแผนการเรียนรู้ร่วมกัน
- ค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับลายผ้าในแต่ละภูมิภาค
- นำเสนองานที่ได้ค้นคว้ามาให้น่าสนใจ
- วิเคราะห์ข้อมูล ระดมความคิดเห็น
- ออกแบบและสร้างลวดลายต่างๆบนผ้า
ชิ้นงาน
- ชาร์ตความรู้ลายผ้า
- ผ้ามัดย้อม
- ปะติดลายผ้า
- Web สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
นักเรียนมีความเข้าใจและสามารถอธิบายวิธีการสร้างลวดลายบนผ้าในแบบต่างๆ
สามารถเชื่อมโยงความสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้องกับสังคม ความเชื่อ ประเพณี วัฒนธรรม
และภูมิปัญญาที่เกี่ยวเนื่องให้เกิดผ้าลายต่างๆ
อีกทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้มาประยุกต์เป็นสรรค์สร้างเป็นชิ้นงานได้
ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะ ICT
คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิหน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
- มีวินัยและมุ่งมั่นในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมาย
- สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
-
รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อการทำงานกลุ่ม
- รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ
- เคารพตนเอง และผู้อื่น
|
4
6-10
มิ.ย
59
|
โจทย์: ลวดลายจักสาน
Key Question :
ลวดลายจักสานมีความสำคัญและเกี่ยวข้องอย่างไรกับวิถีชีวิตของคนในแต่ละท้องถิ่น?
เครื่องมือคิด :
Brainstorms
Round Robin
Jigsaw
Show and Share
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
- ครู
- นักเรียน
สื่อ/อุปกรณ์ :
- บรรยากาศภายในห้องเรียน
- สื่อจริง
(เครื่องจักสานแบบต่างๆ, อุปกรณ์ในการทอเสื่อ)
- กก ไหล ใบมะพร้าว ใบตาล
|
-ครูให้นักเรียนสังเกตเครื่องจักสานแบบต่างๆ
ที่ครูเตรียมมา พร้อมใช้คำถามกระตุ้นความคิด
“นักเรียนสังเกตเห็นอะไรบ้าง?”
“นักเรียนคิดว่าสิ่งที่เห็นทำมาจากอะไร
มีวิธีการอย่างไรในการสร้างสิ่งนี้?”
“นักเรียนรู้จักลายสานอะไรบ้าง
นักเรียนเจอลายสานที่ไหน”
“ในแต่ละภูมิภาคมีลวดลายจักสาน
หรือ อุปกรณ์อะไรบ้าง?” ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาแลกเปลี่ยนระดมความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับลายสาน
หรือ อุปกรณ์ของแต่ละภูมิภาคเชื่อมโยงสู่ภูมิปัญญา และสังคมนั้นๆ
- นักเรียนสานกล่องใส่ของจากวัสดุเหลือใช้(กล่องนม)
- ครูและนักเรียนทบทวนกิจกรรมในวันจันทร์ที่ผ่านมา
ครูใช้คำถามกระตุ้นความคิด “นักเรียนคิดว่าการจักสานสามารถนำวัสดุอะไรมาทำได้บ้าง
และทำเป็นอะไรได้บ้าง?” ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาแลกเปลี่ยนระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับวัสดุที่นำมาจักสาน
และสิ่งของจากการจักสาน
- ครูเตรียมอุปกรณ์สำหรับการทอเสื่อและให้นักเรียนได้เรียนรู้วิธีการทอเสื่อและออกแบบลายเสื่อด้วยตนเอง
- ครูนำของเล่นจากการสานใบมะพร้าวมาให้นักเรียนดู
และใช้คำถามกระตุ้นความคิด “นักเรียนสังเกตเห็นอะไรบ้าง?” / “สิ่งที่นักเรียนเห็นทำมาจากสิ่งใด?” ครูและนักเรียนร่วมกันตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นร่วมกัน แบ่งกลุ่มนักเรียน
กลุ่มละ 4 คน ให้นักเรียนทำของเล่นจากใบมะพร้าว
- ครูและนักเรียนทบทนเกี่ยวกับเรื่องที่ได้เรียนมาตลอดทั้งสัปดาห์พร้อมครูตั้งคำถามกระตุ้นความคิด “นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้าง?”/ “นักเรียนเจอปัญหาหรือไม่/มีวิธีแก้ไขปัญหาอย่างไร?”/ “นักเรียนจะนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ในชีวิติประจำวันได้อย่างไร?” ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาแลกเปลี่ยน ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ตลอดสัปดาห์นี้
- นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ตามความสนใจของตนเอง
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- การบ้าน
นักเรียนค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับลวดลาย หรือ อุปกรณ์จักสานต่างๆของแต่ละภูมิภาค
(เหนือ กลาง ใต้ ตะวันตก ตะวันออก และ ตะวันออกเฉียงเหนือ พร้อมนำเสนอ
- นักเรียนสรรค์สร้างชิ้นงานโดยการสานจากวัสดุต่างๆ
ชิ้นงาน
- การสานของใช้จากกล่องนม
- นักเรียนทอเสื่อกก
- การสานใบลานและใบมะพร้าว
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายความเป็นมาของลายจักสานแต่ละวัฒนธรรม
ความเชื่อ เชื่อมโยงถึงภูมิปัญญา และ สังคมถิ่นฐานตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะ ICT
คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิหน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ- เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
- มีวินัยและมุ่งมั่นในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมาย-สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
-
รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อการทำงานกลุ่ม
- รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ
|
5
13
- 17
มิ.ย.
59
|
โจทย์: ลวดลายเครื่องปั้นดินเผา
Key Questions :
- “นักเรียนคิดว่าลายปั้นสามารถบอกอะไรได้บ้างเพราะเหตุใด?”
- “ทำไมคนแต่ละพื้นถิ่นถึงมีลายปั้นไม่เหมือนกัน?”
เครื่องมือคิด
Brainstorms
Round Robin
Jigsaw
Show and Share
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้:
- ครู
- นักเรียน
สื่อ/อุปกรณ์ :
- บรรยากาศภายในห้องเรียน
- สื่อจริง
(เครื่องปั้นดินเผา)
- อินเทอร์เน็ต
|
- ครูให้นักเรียนสังเกตคลิป “เครื่องปั้นดินเผา” สื่อจริงและภาพของเครื่องปั้นแบบต่างๆ อาทิ โอ่งมังกร หม้อดิน ถ้วยชาม
แก้วกาแฟ นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่สังเกตเห็น
- แบ่งกลุ่มนักเรียนเป็น 4 กลุ่ม ให้ดูภาพลายแต่ละภูมิภาค เช่น
ภาคกลางเป็นเครื่องสังคโลก ภาคเหนือเป็นเครื่องถ้วยล้านนา
ภาคอีสานเป็นลายบ้านเชียง และภาคใต้เป็นลายกุณฑี ครูใช้คำถามกระตุ้นความคิด “นักเรียนเห็นอะไร?”/“ภาพที่เห็นสื่อสารอะไร?”/“มีความเกี่ยวข้องและสัมพันธ์กับสิ่งใดบ้าง?”/
“มีภูมิหลังและมีที่มาอย่างไร?”
- นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันตอบคำถามและวางแผนออกแบบการเรียนรู้
- ครูให้นักเรียนนำเสนอข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นเกี่ยวกับลายเครื่องปั้นในแบบต่างๆ ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปราย
แสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
และครูใช้คำถามกระตุ้นความคิด
“นักเรียนมีวิธีการสร้างลายที่บ่งบอกถึงวิถีชีวิตความเป็นอยู่หรือลักษณะเฉพาะของตนเองโดยใช้วัสดุขึ้นลายหรือเขียนลายพื้นถิ่นอย่างไร?”
- นักเรียนออกแบบการสร้างลาย
เช่น การเตรียมดิน หาดินสีต่างๆ การผสมดินเพื่อให้เกิดสีที่ต้องการและสรรค์สร้างลวดลายของตนเองตามที่ออกแบบไว้
นำเสนอผลงานของตนเอง แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน และพัฒนางานต่อ
- นักเรียนนำเสนอผลงานของตนเอง
พร้อมบอกเหตุผลว่า “ทำไมถึงสร้างลายนี้
เพราะอะไร และมีที่มาอย่างไร?”
- ครูและนักเรียนทบทวนเกี่ยวกับเรื่องที่ได้เรียนมาตลอดทั้งสัปดาห์
ร่วมกันสนทนาแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์นี้
-
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
-
วางแผนออกแบบการเรียนรู้
-
สร้างสรรค์ผลงานการปั้นและออกแบบลวดลายของตนเอง
- นำเสนอผลงาน
-
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน
- เครื่องปั้นดินเผาและการออกแบบลาย
-
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
สามารถอธิบายเกี่ยวกับลายปั้นแต่ละท้องถิ่นมีความเป็นมาที่เกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตความเป็นอยู่เกี่ยวเนื่องให้เกิดลายต่างๆ
อีกทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้มาประยุกต์เป็นชิ้นงานที่สรรค์สร้างได้
ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะ ICT
คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิหน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
- มีวินัยและมุ่งมั่นในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมาย
- สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
-
รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อการทำงานกลุ่ม
- รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ
|
6
20
- 24
มิ.ย.
59
|
โจทย์: ลวดลายแกะสลัก
Key Questions :
“ลวดลายงานแกะสลักมีความสำคัญและเกี่ยวข้องอย่างไรกับวิถีชีวิตของคนแต่ละท้องถิ่นอย่างไร?”
เครื่องมือคิด :
Brainstorms Round Robin Show and
Share
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้:
- ครู
- นักเรียน
สื่อ/อุปกรณ์:
- บรรยากาศภายในห้องเรียน
- อินเทอร์เน็ต
- สื่อจริง (ดินเหนียวแกะสลัก)
- รูปภาพ
|
- ครูให้นักเรียนดูรูปภาพลายแกะสลักแบบต่างๆ
ทั้งลายนูนสูง ลายนูนต่ำ ลายกระเบื้อง ลายไม้ ลายหิน ฯลฯ
- นักเรียนวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่สังเกตเห็น
- แบ่งกลุ่มนักเรียนเป็น 4 กลุ่ม
ให้ดูภาพลายที่ครูให้ซึ่งมีความแตกต่างกัน ครูใช้คำถามกระตุ้นความคิด
“นักเรียนเห็นอะไร?”
“ภาพที่เห็นสื่อสารอะไร?”
“มีความเกี่ยวข้องและสัมพันธ์กับสิ่งใดบ้าง?”
“มีภูมิหลังและมีที่มาอย่างไร?”
-นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันตอบคำถามและสำรวจลายเครื่องปั้นต่างๆที่มีอยู่ในบริเวณโรงเรียน
- นักเรียนออกแบบการแกะสลักสร้างลาย
เช่น แกะดินเหนียว(งานปั้น)
- นักเรียนสรรค์สร้างลวดลายแกะสลักของตนเองตามที่ออกแบบไว้
และนำเสนอผลงานของตนเอง พร้อมบอกเหตุผลว่า “ทำไมถึงสร้างลายนี้ เพราะอะไร และมีที่มาอย่างไร?”
- ครูและนักเรียนทบทวนเกี่ยวกับเรื่องที่ได้เรียนมาตลอดทั้งสัปดาห์
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์นี้
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- สำรวจลายเครื่องปั้นในโรงเรียน
- การแกะสลักดินเหนียว
- นำเสนองาน
ชิ้นงาน
- การแกะสลักดินเหนียว
- ภาพลายเครื่องปั้นจากการสำรวจ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายลักษณะของลวดลายแกะสลักในแบบต่างๆที่เชื่อมโยงกับวิถีชีวิตของคนแต่ละท้องถิ่น
ทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้มาประยุกต์เป็นชิ้นงานที่สรรค์สร้างได้
ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะ ICT
คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิหน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ- เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
- มีวินัยและมุ่งมั่นในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมาย-สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
-
รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อการทำงานกลุ่ม
- รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ
|
7
27มิ.ย.59
-
1
ก.ค 59
|
โจทย์: ช่วงเวลาของการเกิดลาย
Key Question :
นักเรียนสามารถประยุกต์ลวดลายเป็นของตนเองได้หรือไม่
อย่างไร?
เครื่องมือคิด :
Brainstorms
Round Rubin
Time line
Show and Share
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้:
- ครู
- นักเรียน
สื่อ/อุปกรณ์ :
- บรรยากาศภายในห้องเรียน
- แท็ปเล็ต คอมพิวเตอร์
- อินเทอร์เน็ต
- กระดาษชาร์ต สี ดินเสอ
|
- ครูทบทวนกิจกรรมการเรียนรู้ตลอดหลายสัปดาห์เกี่ยวกับการสร้างลวดลายต่างๆ และใช้คำถามกระตุ้นความคิดเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้มาและลวดลายอื่นๆที่นักเรียนรู้จัก
ครูและนักเรียนร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
-นักเรียนแบ่งกลุ่มเป็น 4 กลุ่ม
ได้แก่ ภาคอีสาน ภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคใต้
- นักเรียนสืบค้นข้อมูลและออกแบบการทำ Time
line ช่วงเวลาของการเกิดลายตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
- นักเรียนนำเสนอผลงานแต่ละกลุ่ม
- ครูและนักเรียนทบทวนเกี่ยวกับเรื่องที่ได้เรียนมาตลอดทั้งสัปดาห์
ร่วมกันสนทนาแลกเปลี่ยน
ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์นี้
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- การสืบค้นข้อมูล
- การทำ Time
line ช่วงเวลาของการเกิดลายตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
- นำเสนอผล อภิปรายร่วมกัน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน
- Time line ช่วงเวลาของการเกิดลายตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลวดลายต่างๆที่มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกับวิถีชีวิต
ตลอดจนนำมาประยุกต์ใช้สรรค์สร้างเป็นชิ้นงานที่สร้างรายได้และอาชีพได้
ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะ ICT
คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิหน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
- มีวินัยและมุ่งมั่นในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมาย
- สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
-
รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อการทำงานกลุ่ม
- รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ
|
8
4
- 8
ก.ค.
59
|
โจทย์ : ลวดลายประยุกต์
แสดงถึงความเป็นอัตลักษณ์เอกลักษณ์เฉพาะตน
สร้างรายได้สร้างอาชีพ
Key Question :
นักเรียนสามารถประยุกต์ลวดลายเป็นของตนเองได้หรือไม่
อย่างไร?
เครื่องมือคิด :
Brainstorms
Round Robin
Show and Share
Flow Chart
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้:
- ครู
- นักเรียน
สื่อ/อุปกรณ์ :
- บรรยากาศภายในห้องเรียน
- รูปภาพลวดลายต่างๆ
|
- ครูทบทวนกิจกรรมที่เรียนมาตลอดหลายสัปดาห์
ทบทวนกิจกรรมและชิ้นงานของลวดลายต่างๆ ที่ได้เรียนมา
และให้ดูรูปภาพชิ้นงานเพิ่มเติม ใช้คำถามกระตุ้นความคิด “นักเรียนชอบกิจกรรมใดมากที่สุด
และสามารถสร้างชิ้นงานของตนเองจากกิจกรรมที่ผ่านมาได้อย่างไร?”
- นักเรียนออกแบบประยุกต์การใช้ลวดลายในการทำชิ้นงานของตนเอง
ผ่านกิจกรรมที่แต่ละคนสนใจ โดยที่ชิ้นงานสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้จริง
- นักเรียนนำเสนอแผนงานการออกแบบและเริ่มทำชิ้นงานของตนเอง
นำเสนอผลงาน ครูและนักเรียนแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ดูความก้าวหน้าและพัฒนาชิ้นงานต่อไป
- ครูและนักเรียนทบทวนเกี่ยวกับเรื่องที่ได้เรียนมาตลอดทั้งสัปดาห์
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
-
วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่สังเกตเห็นจากคลิปวีดีโอ
- สร้างลวดลายที่แสดงถึงความเป็นตัวตนเกี่ยวกับตัวเอง
- นำเสนอผล
อภิปรายร่วมกัน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน
- ลวดลายความเป็นตัวตน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลวดลายต่างๆที่มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกับวิถีชีวิต
ตลอดจนนำมาประยุกต์ใช้สรรค์สร้างเป็นชิ้นงานที่สร้างรายได้และอาชีพได้
ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะ ICT
คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิหน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
- มีวินัยและมุ่งมั่นในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมาย
- สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
-
รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อการทำงานกลุ่ม
|
9
11
- 15
ก.ค.
59
|
โจทย์: ความ
สัมพันธ์กับวิถีชีวิต
Key Questions :
- นักเรียนจะออกแบบลวดลายที่แสดงความเป็นวัฒนธรรมหรือกลุ่มคนเดียวกันได้อย่างไร?
เครื่องมือคิด :
Brainstorms
Round Robin
Jigsaw
Show and Share
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
- ครู
- นักเรียน
สื่อ/อุปกรณ์ :
- บรรยากาศภายใน
- คลิปวีดีโอและภาพการสร้างลวดลายต่างๆ
|
- ครูทบทวนกิจกรรมจากการทำชิ้นงานของนักเรียน
เปิดคลิปวีดีโอและภาพการสร้างลวดลายในแบบต่างๆ ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด “นักเรียนจะออกแบบลวดลายที่แสดงความเป็นวัฒนธรรมหรือกลุ่มคนเดียวกันได้อย่างไร?”
-
ครูให้นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับลวดลายในกลุ่มของตน
พร้อมวางแผนและออกแบบการเรียนรู้
- นักเรียนออกแบบสร้างลวดลายเป็นชิ้นงานของห้องเรียนที่แสดงให้เห็นถึงความเป็นอัตลักษณ์ของคนในชั้นเรียน
- นำเสนอผลงาน ครูและนักเรียนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
- ครูและนักเรียนทบทวนเกี่ยวกับเรื่องที่ได้เรียนมาตลอดทั้งสัปดาห์พร้อมครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด
“นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้าง?”
“นักเรียนเจอปัญหาหรือไม่/มีวิธีแก้ไขปัญหาอย่างไร?”
“นักเรียนจะนำความรู้ที่ได้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างไร?”
“นักเรียนอยากเรียนรู้เพิ่มเติมในประเด็นใดบ้าง?”
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาแลกเปลี่ยน
ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์นี้
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- วางแผนและออกแบบการทำงาน
- นำเสนองาน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน
- ชิ้นงานของห้องเรียน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
เข้าใจและอธิบายได้ว่าลวดลายที่เกิดขึ้นมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกับวิถีชีวิตของกลุ่มคนเดียวกันจากอดีตถึงปัจจุบันได้สามารถนำความรู้ที่ได้
มาประยุกต์ทำชิ้นงาน ได้อย่างสร้างสรรค์ อีกทั้งแก้ปัญหาจากการสร้างชิ้นงานได้อย่างหลากหลาย
ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะ ICT
คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิหน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ- เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
- มีวินัยและมุ่งมั่นในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมาย-สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
-
รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อการทำงานกลุ่ม
- รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ
|
10
21
- 22
ก.ค.
59
|
โจทย์: สรุปองค์ความรู้หน่วย “Time ลายร้อยเรื่องราว”
เครื่องมือคิด :
Brainstorms
Round Robin
Mind Mapping
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
- ครู
- นักเรียน
สื่อ/อุปกรณ์ :
- บรรยากาศภายในห้องเรียน
- กระดาษ สี ดินสอ
|
- ครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด “ตลอด Quarter นี้
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาแลกเปลี่ยน
ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ใน Quarter 1
- นักเรียนสรุปองค์ความรู้หลังเรียนในรูปแบบ Mind Mapping
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ใน Quarter
1
- สรุปองค์ความรู้หลังเรียนในรูปแบบ Mind
Mapping
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน
- สรุปองค์ความรู้หลังเรียนในรูปแบบ Mind
Mapping
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
เข้าใจและอธิบายได้ว่าลวดลายที่เกิดขึ้นมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกับวิถีชีวิตของกลุ่มคนเดียวกันจากอดีตถึงปัจจุบันได้สามารถนำความรู้ที่ได้
มาประยุกต์ทำชิ้นงาน ได้อย่างสร้างสรรค์ อีกทั้งแก้ปัญหาจากการสร้างชิ้นงานได้อย่างหลากหลาย
ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะ ICT
คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิหน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ- เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
- มีวินัยและมุ่งมั่นในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมาย-สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
-
รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อการทำงานกลุ่ม
- รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ
|
11
25
- 29
ก.ค.
59
|
โจทย์: นำเสนอสิ่งที่เรียนรู้
Key Questions :
- นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างใน Quarter นี้?
- นักเรียนจะเผยแพร่องค์ความรู้
หน่วย “Time ลายร้อยเรื่องราว” ให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างไร?
เครื่องมือคิด :
Brainstorms
Round Rubin
Mind Mapping
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
- ครู
- นักเรียน
- ผู้ปกครอง
สื่อ/อุปกรณ์:
- บรรยากาศภายในห้องเรียน
- ชิ้นงานลวดลายต่างๆ
ที่ใช้ประกอบการนำเสนอ
|
- นักเรียนสรุปองค์ความรู้หลังเรียนในรูปแบบ Mind Mapping
- นักเรียนแต่ละคนเขียนประเมินตนเองสิ่งที่ทำได้ดีแล้วและสิ่งที่ควรพัฒนาเพิ่มเติม
- นักเรียนวางแผนการจัดนิทรรศการนำเสนอข้อมูล
- นักเรียนเตรียมตัว และซ้อมนำเสนอองค์ความรู้ใน Quarter 1
- นักเรียนนำเสนอถ่ายทอดองค์ความรู้หน่วย
“Time ลายร้อยเรื่องราว” ให้
พี่ๆน้องๆ และ ผู้ปกครองชื่นชม
- นักเรียนตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้
พร้อมสิ่งที่ทำได้ดีแล้ว และการพัฒนาใน Quarter หน้า
- นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ตามความสนใจของตนเอง
|
ภาระงาน
- สรุปองค์ความรู้หลังเรียนในรูปแบบ Mind Mapping
- ประเมินตนเองสิ่งที่ทำได้ดีแล้วและสิ่งที่ควรพัฒนาเพิ่มเติม
- นำเสนอถ่ายทอดองค์ความรู้
- ตอบคำถามหลังเรียน
ชิ้นงาน
- สรุปองค์ความรู้หลังเรียนในรูปแบบ Mind
Mapping
- ประเมินตนเองสิ่งที่ทำได้ดีแล้วและสิ่งที่ควรพัฒนาเพิ่มเติม
- ตอบคำถามหลังเรียน
|
ความรู้
นักเรียนเข้าใจสามารถอธิบายและนำเสนอถ่ายทอดสิ่งที่ได้เรียนรู้ตลอทั้ง Quarter หน่วย “Time ลายร้อยเรื่องราว”เชื่อมโยงเข้าสู่ภูมิภาคแต่ละภาค
อีกทั้งสามารถนำความรู้ไปปรับใช้หรือประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม
ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะ ICT
คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิหน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
- มีวินัยและมุ่งมั่นในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมาย
- สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
-
รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อการทำงานกลุ่ม
- รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ
|
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)